โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการหมู่บ้าน ม.2
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค
ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการขยายตัวของชุมชนที่เกิดจากการเพิ่มของจำนวนประชากร การเปลี่ยนแปลงสภาพทางสังคมหรือการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ทำให้ประชาชนในชุมชนมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปมีความเร่งรีบในการดำเนินชีวิต การอุปโภค บริโภคก็ใช้บริการร้านสะดวกซื้อที่สำเร็จรูปไม่ต้องประกอบ ปรุงให้ยุ่งยาก แต่สิ่งที่ตามมาคือบรรจุภัณฑ์หรือสิ่งเหลือใช้ที่ไม่ต้องการและต้องทิ้งเป็นขยะมูลฝอยก็เพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว ซึ่งไม่สามารถจัดการให้หมดได้ในเวลาอันสั้น เช่น ขวดพลาสติก ถุงพลาสติก กล่องโฟม ฯลฯ แต่ก็ยังมีภาชนะบางส่วนที่สามารถนำไปใช้ซ้ำได้หรือแปรรูปให้เป็นของใช้อย่างอื่นได้อีก เช่นขวดแก้ว เหล็ก กระดาษ ฯลฯ ถ้าได้มีการคัดแยกประเภทขยะ เช่น ขยะอินทรีย์ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย ก็สามารถลดปริมาณขยะได้เป็นอันมาก แต่หากทิ้งโดยไม่คัดแยกก็จะมีปริมาณขยะมากและยากต่อการกำจัด นับว่าเป็นปัญหาสำคัญที่จะต้องแก้ไข เนื่องจากเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนโดยตรงและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ดังนั้นในการรักษาความสะอาดและการจัดการขยะมูลฝอย จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องรณรงค์ให้ประชาชนตื่นตัวใน มหันต์ภัยจากขยะ ที่เป็นแหล่งอาศัยบ่งเพาะเชื้อหรือพาหะนำโรคเป็นสาเหตุของการเกิดโรคภัยต่าง ๆ เช่น อหิวาตกโรค โรคบิด โรคไข้เลือดออก ฯลฯ และปลูกจิตสำนึกให้กับประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดของบ้านเรือนและการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของตนเอง โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้งเพื่อให้บ้านเรือนน่าอยู่ น่าอาศัย ปราศจากสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค เช่นแมลงวัน หนู ยุง และเชื้อโรคต่าง ๆ อีกทั้งขยะยังก่อให้เกิดรายได้อีกทางหนึ่ง
จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นนับว่าเป็นปัญหาสำคัญที่ประชาชนในชุมชนต่างตระหนักและต้องแก้ไข ดังนั้นจึงได้จัดทำ “โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค” ขึ้นเพื่อเป็นการบูรณาการให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ตระหนักถึงความรับผิดชอบของการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน หมู่บ้าน ตำบล และเพื่อป้องกันส่งเสริมไม่ให้สภาพแวดล้อมของชุมชนเสียไป ตลอดจนเป็นการป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคภัยต่าง ๆ ซึ่งสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายของครัวเรือนในเรื่องการรักษาพยาบาลและทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นภาวะเศรษฐกิจที่ดีต่อไปได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และตระหนักในการคัดแยกขยะได้ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ
- เพื่อให้ประชาชนคัดแยกขยะและประเภทของขยะ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะที่ย่อยสลายได้อย่างถูกต้อง และมีรายได้จากการแยกขยะเพื่อจำหน่าย
- ...เพื่อเกิดความรักสามัคคีในการช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
- เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถลดขยะนำโรคและสัตว์พาหะนำโรคติดต่อได้
- เพื่อให้มีครัวเรือนแบบอย่างหรือนำร่องซึ่งอาจมีการขยายผลให้กับบ้านเรือนใกล้เคียง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค
- โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนได้รับความรู้เกิดความตระหนักในการคัดแยกขยะได้ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ
- ประชาชนสามารถคัดแยกขยะและประเภทของขยะ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะที่ย่อยสลายได้อย่างถูกต้อง และมีรายได้จากการแยกขยะเพื่อจำหน่าย
- เกิดความรักสามัคคีในการช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
- ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถลดขยะนำโรคและสัตว์พาหะนำโรคติดต่อได้
- เกิดครัวเรือนแบบอย่างหรือนำร่องเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และตระหนักในการคัดแยกขยะได้ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ มีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย อย่างถูกวิธี
0.00
2
เพื่อให้ประชาชนคัดแยกขยะและประเภทของขยะ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะที่ย่อยสลายได้อย่างถูกต้อง และมีรายได้จากการแยกขยะเพื่อจำหน่าย
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีสามารถลดโรคติดต่อที่เกิดจากขยะได้
0.00
3
...เพื่อเกิดความรักสามัคคีในการช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
0.00
4
เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถลดขยะนำโรคและสัตว์พาหะนำโรคติดต่อได้
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีสามารถลดโรคติดต่อที่เกิดจากขยะได้
0.00
5
เพื่อให้มีครัวเรือนแบบอย่างหรือนำร่องซึ่งอาจมีการขยายผลให้กับบ้านเรือนใกล้เคียง
ตัวชี้วัด : เกิดครัวเรือนแบบอย่างหรือนำร่องเพิ่มขึ้นในหมู่บ้าน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และตระหนักในการคัดแยกขยะได้ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ (2) เพื่อให้ประชาชนคัดแยกขยะและประเภทของขยะ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะที่ย่อยสลายได้อย่างถูกต้อง และมีรายได้จากการแยกขยะเพื่อจำหน่าย (3) ...เพื่อเกิดความรักสามัคคีในการช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน (4) เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถลดขยะนำโรคและสัตว์พาหะนำโรคติดต่อได้ (5) เพื่อให้มีครัวเรือนแบบอย่างหรือนำร่องซึ่งอาจมีการขยายผลให้กับบ้านเรือนใกล้เคียง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค (2) โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( คณะกรรมการหมู่บ้าน ม.2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค ”
ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
คณะกรรมการหมู่บ้าน ม.2
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการขยายตัวของชุมชนที่เกิดจากการเพิ่มของจำนวนประชากร การเปลี่ยนแปลงสภาพทางสังคมหรือการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ทำให้ประชาชนในชุมชนมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปมีความเร่งรีบในการดำเนินชีวิต การอุปโภค บริโภคก็ใช้บริการร้านสะดวกซื้อที่สำเร็จรูปไม่ต้องประกอบ ปรุงให้ยุ่งยาก แต่สิ่งที่ตามมาคือบรรจุภัณฑ์หรือสิ่งเหลือใช้ที่ไม่ต้องการและต้องทิ้งเป็นขยะมูลฝอยก็เพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัว ซึ่งไม่สามารถจัดการให้หมดได้ในเวลาอันสั้น เช่น ขวดพลาสติก ถุงพลาสติก กล่องโฟม ฯลฯ แต่ก็ยังมีภาชนะบางส่วนที่สามารถนำไปใช้ซ้ำได้หรือแปรรูปให้เป็นของใช้อย่างอื่นได้อีก เช่นขวดแก้ว เหล็ก กระดาษ ฯลฯ ถ้าได้มีการคัดแยกประเภทขยะ เช่น ขยะอินทรีย์ ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล และขยะอันตราย ก็สามารถลดปริมาณขยะได้เป็นอันมาก แต่หากทิ้งโดยไม่คัดแยกก็จะมีปริมาณขยะมากและยากต่อการกำจัด นับว่าเป็นปัญหาสำคัญที่จะต้องแก้ไข เนื่องจากเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนโดยตรงและส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
ดังนั้นในการรักษาความสะอาดและการจัดการขยะมูลฝอย จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องรณรงค์ให้ประชาชนตื่นตัวใน มหันต์ภัยจากขยะ ที่เป็นแหล่งอาศัยบ่งเพาะเชื้อหรือพาหะนำโรคเป็นสาเหตุของการเกิดโรคภัยต่าง ๆ เช่น อหิวาตกโรค โรคบิด โรคไข้เลือดออก ฯลฯ และปลูกจิตสำนึกให้กับประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการรักษาความสะอาดของบ้านเรือนและการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของตนเอง โดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้งเพื่อให้บ้านเรือนน่าอยู่ น่าอาศัย ปราศจากสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค เช่นแมลงวัน หนู ยุง และเชื้อโรคต่าง ๆ อีกทั้งขยะยังก่อให้เกิดรายได้อีกทางหนึ่ง
จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้นนับว่าเป็นปัญหาสำคัญที่ประชาชนในชุมชนต่างตระหนักและต้องแก้ไข ดังนั้นจึงได้จัดทำ “โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค” ขึ้นเพื่อเป็นการบูรณาการให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ตระหนักถึงความรับผิดชอบของการจัดการขยะในครัวเรือน ชุมชน หมู่บ้าน ตำบล และเพื่อป้องกันส่งเสริมไม่ให้สภาพแวดล้อมของชุมชนเสียไป ตลอดจนเป็นการป้องกันการเจ็บป่วยจากโรคภัยต่าง ๆ ซึ่งสามารถช่วยลดค่าใช้จ่ายของครัวเรือนในเรื่องการรักษาพยาบาลและทำให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นภาวะเศรษฐกิจที่ดีต่อไปได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และตระหนักในการคัดแยกขยะได้ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ
- เพื่อให้ประชาชนคัดแยกขยะและประเภทของขยะ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะที่ย่อยสลายได้อย่างถูกต้อง และมีรายได้จากการแยกขยะเพื่อจำหน่าย
- ...เพื่อเกิดความรักสามัคคีในการช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
- เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถลดขยะนำโรคและสัตว์พาหะนำโรคติดต่อได้
- เพื่อให้มีครัวเรือนแบบอย่างหรือนำร่องซึ่งอาจมีการขยายผลให้กับบ้านเรือนใกล้เคียง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค
- โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนได้รับความรู้เกิดความตระหนักในการคัดแยกขยะได้ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ
- ประชาชนสามารถคัดแยกขยะและประเภทของขยะ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะที่ย่อยสลายได้อย่างถูกต้อง และมีรายได้จากการแยกขยะเพื่อจำหน่าย
- เกิดความรักสามัคคีในการช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
- ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถลดขยะนำโรคและสัตว์พาหะนำโรคติดต่อได้
- เกิดครัวเรือนแบบอย่างหรือนำร่องเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และตระหนักในการคัดแยกขยะได้ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ มีส่วนร่วมในการจัดการขยะมูลฝอย อย่างถูกวิธี |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนคัดแยกขยะและประเภทของขยะ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะที่ย่อยสลายได้อย่างถูกต้อง และมีรายได้จากการแยกขยะเพื่อจำหน่าย ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีสามารถลดโรคติดต่อที่เกิดจากขยะได้ |
0.00 |
|
||
3 | ...เพื่อเกิดความรักสามัคคีในการช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน ตัวชี้วัด : ประชาชนมีส่วนร่วมในการช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถลดขยะนำโรคและสัตว์พาหะนำโรคติดต่อได้ ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีสามารถลดโรคติดต่อที่เกิดจากขยะได้ |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อให้มีครัวเรือนแบบอย่างหรือนำร่องซึ่งอาจมีการขยายผลให้กับบ้านเรือนใกล้เคียง ตัวชี้วัด : เกิดครัวเรือนแบบอย่างหรือนำร่องเพิ่มขึ้นในหมู่บ้าน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้และตระหนักในการคัดแยกขยะได้ถูกต้องและประโยชน์ของขยะ (2) เพื่อให้ประชาชนคัดแยกขยะและประเภทของขยะ ขยะอินทรีย์ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย ขยะที่ย่อยสลายได้อย่างถูกต้อง และมีรายได้จากการแยกขยะเพื่อจำหน่าย (3) ...เพื่อเกิดความรักสามัคคีในการช่วยดูแลสิ่งแวดล้อมในชุมชน (4) เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการขยะในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถลดขยะนำโรคและสัตว์พาหะนำโรคติดต่อได้ (5) เพื่อให้มีครัวเรือนแบบอย่างหรือนำร่องซึ่งอาจมีการขยายผลให้กับบ้านเรือนใกล้เคียง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค (2) โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการทุ่งนนท์บ้านน่าอยู่ ปลอดขยะ ปลอดโรค จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( คณะกรรมการหมู่บ้าน ม.2 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......