กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคนคลองขุดร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปิยวรรณ แสงทอง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคนคลองขุดร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5300-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคนคลองขุดร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคนคลองขุดร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคนคลองขุดร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5300-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายจากโรคมะเร็งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกนับเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี พบได้ถึง ๓ คน ในประชากรแสนคน ในแต่ละปีมีผู้ป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต ประมาณ ๔,๕๐๐ คน ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ ๓๐ - ๕๐ ปี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการตรวจ Pap Smear และหากทำทุก ๒ ปี สามารถลดการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้ ร้อยละ ๙๒ ซึ่งถึงแม้กระบวนการตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่าย สะดวก ราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการตรวจ Pap Smear ส่วนโรคมะเร็งเต้านม ผู้ป่วยมักไม่มีอาการผิดปกติในระยะเริ่มต้น ดังนั้นจึงมีความจำเป็นและสำคัญที่ต้องทำการตรวจคัดกรองเพื่อค้นหามะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นการรักษามะเร็งเต้านมในปัจจุบันมีความก้าวหน้าไปมาก การค้นพบมะเร็งเต้านมในระยะเริ่มต้นสามารถรักษาให้หายขาดได้อีกทั้งการรักษาอาจทำได้โดยการตัดเฉพาะก้อนมะเร็งออกไม่จำเป็นต้องผ่าตัดทั้งเต้านม ในทางตรงกันข้ามหากไม่มีการตรวจคัดกรองเพื่อค้นหามะเร็งเต้านม รอจนกระทั่งมีอาการผิดปกติ มะเร็งอาจแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่นๆ และไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ จากการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด (สาขา) ได้ดำเนินงานการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี (๑,๙๑๓ คน) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบพบว่ากลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปี ๒๕๕9-๒๕๖๐ จำนวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ ๐.๕ พบผู้ที่มีเซลล์ผิดปกติทั้งสิ้น ๓ คน และกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐-๗๐ ปี (๒,๒๘๘ คน)จำนวน 1,237 คนคิดเป็นร้อยละ ๙๐.๗๕ พบผู้ที่มีเซลล์ผิดปกติทั้งสิ้น ๓ คน จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นว่า กลุ่มคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่ยังไม่เข้ารับการตรวจจะเป็นกลุ่มที่ยากต่อการติดตามเข้ารับบริการ และการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองที่ไม่พบความผิดปกติ อาจเกิดจากการตรวจที่ไม่ถูกต้อง เทคนิคหรือแบบการตรวจคัดกรองที่มีความซับซ้อนไม่เข้าใจ พร้อมทั้งกลุ่มเป้าหมายและอสม. ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จากข้อมูลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองขุด (สาขา) จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ คนคลองขุดร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ 2561 ขึ้น เพื่อให้การดำเนินงานการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 30-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองอย่างต่อเนื่องและบรรลุตามตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุขกำหนด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-70 ปี ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้
  3. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน
  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.
  3. กิจกรรมอบรมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. อสม. ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกหลังการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมถูกต้องหลังการอบรม ร้อยละ 100 3. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30-70ปีตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 4. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30-60ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 0.5 ของปีที่ผ่านมา 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา ร้อยละ 100 ผลลัพธ์ 1.อสม. มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพิ่มความมั่นใจในการเผยแพร่ความรู้และถ่ายทอดแก่ประชาชนได้ 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมได้ถูกต้องและสามารถถ่ายทอดแก่สตรีกลุ่มอื่นๆได้ 3. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30-70ปี สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง 4. แนวโน้มของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30-60ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน

วันที่ 19 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรมและกำหนดวัน เวลา สถานที่ในการจัดกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ จำนวน 10 คน ผลลัพธ์ 1.อสม. มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพิ่มความมั่นใจในการเผยแพร่ความรู้และถ่ายทอดแก่ประชาชนได้ 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมได้ถูกต้องและสามารถถ่ายทอดแก่สตรีกลุ่มอื่นๆได้ 3. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง 4. แนวโน้มของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ  30-60  ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา

 

10 0

2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.

วันที่ 19 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม.ให้ความรู้และประชาสัมพันธ์และวางแผนกำหนดวันเวลา และสถานที่ในการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. อสม. ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกหลังการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมถูกต้องหลังการอบรม ร้อยละ 100 3. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี  ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 4. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-60  ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 0.5 ของปีที่ผ่านมา 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา ร้อยละ 100 ผลลัพธ์ 1.อสม. มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพิ่มความมั่นใจในการเผยแพร่ความรู้และถ่ายทอดแก่ประชาชนได้ 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมได้ถูกต้องและสามารถถ่ายทอดแก่สตรีกลุ่มอื่นๆได้ 3. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง 4. แนวโน้มของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ  30-60  ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา

 

50 0

3. กิจกรรมอบรมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 21 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ให้ อสม.แนะนำและติดตามกลุ่มเป้าหมายในตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองแล้วส่งผลกลับมายัง รพ.สต.เพื่อคีย์ข้อมูลและหากสตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองแล้วเจอความผิดปกติหรือไม่มั่นใจ  ให้ อสม.ติดตามและส่งต่อมายัง รพ.สต. 2. ตรวจ Pap smear แล้วส่งแผ่นสไลด์ ไปตรวจและอ่านผล ณ โรงพยาบาลสตูล 2.1. รับผลการตรวจและแจ้งผลไปยังกลุ่มเป้าหมาย 2.2. คีย์ข้อมูลการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก 3.  สรุปผลการคัดกรอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต 1. อสม. ได้รับความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกหลังการอบรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมถูกต้องหลังการอบรม ร้อยละ 100 3. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี  ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 4. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-60  ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 0.5 ของปีที่ผ่านมา 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา ร้อยละ 100 ผลลัพธ์ 1.อสม. มีความรู้เรื่องโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพิ่มความมั่นใจในการเผยแพร่ความรู้และถ่ายทอดแก่ประชาชนได้ 2. อสม. มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมได้ถูกต้องและสามารถถ่ายทอดแก่สตรีกลุ่มอื่นๆได้ 3. สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี สามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง 4. แนวโน้มของสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ  30-60  ปี  ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้น 5. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา

 

300 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ30-60ปีได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 0.5
0.50 3.00

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-70 ปี ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมาย อายุ 30-70 ปี ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ด้วยตนเอง ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90
90.00

 

3 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมาย  อายุ  30-70  ปี  ตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ (3) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและเข้าสู่กระบวนการรักษา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมชี้แจงคณะทำงาน (2) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ อสม. (3) กิจกรรมอบรมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการคนคลองขุดร่วมใจต้านภัยมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5300-1-4

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปิยวรรณ แสงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด