โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก
กรกฎาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7889-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7889-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,225.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริกได้ของบประมาณกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ในปีงบประมาณ 2560 เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องความรู้ความเข้าใจ แก่ผู้มีภาวะเสี่ยงจากการทำงานด้านเกษตรและป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้จากการปฏิบัติงานพร้อมทั้งสร้างโอกาสให้ผู้มีภาวะเสี่ยงจากการทำงานด้านเกษตรได้รับการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ โดยการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด โดยวิธีใช้แบบคัดกรองตรวจเลือดใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลนเอสเตอเรส ซึ่งมีผู้มาตรวจคดกรองทั้งหมด398คน พบว่า
1. ชุมชนตลาดปริกผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด64คน
2. ชุมชนทุ่งออก ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด81คน
3. ชุมชนสวนหม่อมผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด51คน
4. ชุมชนปริกใต้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด5คน
5. ชุมชนตลาดใต้-บ้านกลาง ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด64คน
6. ชุมชนร้านใน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 79 คน
7. ชุมชนปริกตก ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 54 คน
รวมผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 398 คน คิดเป็น 79.60 เปอร์เซ็นต์ กับ (เป้าหมายทั้ง 7 ชุมชน จำนวน 500 คน) ซึ่งคิดเป็นร้อยละทั้งหมดของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมดดังนี้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 398 คน
เพื่อเป็นการค้นหากลุ่มเสี่ยงรายใหม่และส่งเสริมป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงรายเก่า ตลอดการติดตาม
กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมี พร้อมทั้ง ส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกวิธีต่อไป ดังนั้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริกจึงขอจัดทำโครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นให้แก่เกษตรกรที่ได้สัมผัสสารเคมีรายใหม่ และติดตามเกษตรกรผู้มีผลเลือดเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
- เพื่อให้เกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี ได้รับความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้ถูกต้อง เกิดการดูแลตัวเองได้อย่างต่อเนื่อง
- เพื่อกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างถูกวิธี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าหมึกปริ้นเอกสาร
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม, แบบคัดกรองสุขภาพ และแบบประเมินก่อนการอบรม-หลังการอบรม (Pre-Testและ Post-Test)
- ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ในการประชาสัมพันธ์/อบรม เช่น ปากกา, กระดาษ, ปากกาเคมีและกระดาษบรู๊ฟ เป็นต้น
- สำลีก้อน จำนวน 4 ถุง X 200 บาท
- ถุงมือทางการแพทย์ จำนวน 5 กล่อง
- แอลกอฮอลล์ 70 % จำนวน 5 ขวด X 60 บาท
- ค่าจัดทำป้ายผ้า จำนวน 1 ผืน
- ค่ากระดาษ A4, กระดาษสี A4 และสันแฟ้ม
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 573 คน X 50 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 573 คน X 25 บาท
- ค่าวิทยากร X 3 ชั่วโมง X 600 บาท
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
573
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
573
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 กลุ่มผู้มีภาวะเสี่ยงจากการทำงานด้านการเกษตร (รายเก่า) ได้รับการติดตามตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นซ้ำ และสามารถดูแลและป้องกันตนเองจากการสัมผัสสารเคมี
2 กลุ่มผู้มีภาวะเสี่ยงจากการทำงานด้านการเกษตร (รายใหม่) ได้รับความรู้พร้อมทั้งได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น ส่งเสริม และป้องกันโรคได้
3 เกิดการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของกลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี และได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกวิธีต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นให้แก่เกษตรกรที่ได้สัมผัสสารเคมีรายใหม่ และติดตามเกษตรกรผู้มีผลเลือดเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงรายเก่าได้รับความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรมและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง
80.00
2
เพื่อให้เกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี ได้รับความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้ถูกต้อง เกิดการดูแลตัวเองได้อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี ได้รับความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้ถูกต้อง เกิดการดูแลตัวเองได้อย่างต่อเนื่อง
80.00
3
เพื่อกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างถูกวิธี
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
1146
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
573
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
573
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นให้แก่เกษตรกรที่ได้สัมผัสสารเคมีรายใหม่ และติดตามเกษตรกรผู้มีผลเลือดเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น (2) เพื่อให้เกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี ได้รับความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้ถูกต้อง เกิดการดูแลตัวเองได้อย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างถูกวิธี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าหมึกปริ้นเอกสาร (2) ค่าเอกสารประกอบการอบรม, แบบคัดกรองสุขภาพ และแบบประเมินก่อนการอบรม-หลังการอบรม (Pre-Testและ Post-Test) (3) ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ในการประชาสัมพันธ์/อบรม เช่น ปากกา, กระดาษ, ปากกาเคมีและกระดาษบรู๊ฟ เป็นต้น (4) สำลีก้อน จำนวน 4 ถุง X 200 บาท (5) ถุงมือทางการแพทย์ จำนวน 5 กล่อง (6) แอลกอฮอลล์ 70 % จำนวน 5 ขวด X 60 บาท (7) ค่าจัดทำป้ายผ้า จำนวน 1 ผืน (8) ค่ากระดาษ A4, กระดาษสี A4 และสันแฟ้ม (9) ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 573 คน X 50 บาท (10) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 573 คน X 25 บาท (11) ค่าวิทยากร X 3 ชั่วโมง X 600 บาท
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7889-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริก
กรกฎาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7889-3-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7889-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,225.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริกได้ของบประมาณกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลปริก ในปีงบประมาณ 2560 เพื่ออบรมให้ความรู้เรื่องความรู้ความเข้าใจ แก่ผู้มีภาวะเสี่ยงจากการทำงานด้านเกษตรและป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้จากการปฏิบัติงานพร้อมทั้งสร้างโอกาสให้ผู้มีภาวะเสี่ยงจากการทำงานด้านเกษตรได้รับการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ โดยการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด โดยวิธีใช้แบบคัดกรองตรวจเลือดใช้กระดาษทดสอบเอนไซม์โคลนเอสเตอเรส ซึ่งมีผู้มาตรวจคดกรองทั้งหมด398คน พบว่า
1. ชุมชนตลาดปริกผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด64คน
2. ชุมชนทุ่งออก ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด81คน
3. ชุมชนสวนหม่อมผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด51คน
4. ชุมชนปริกใต้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด5คน
5. ชุมชนตลาดใต้-บ้านกลาง ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด64คน
6. ชุมชนร้านใน ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 79 คน
7. ชุมชนปริกตก ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 54 คน
รวมผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 398 คน คิดเป็น 79.60 เปอร์เซ็นต์ กับ (เป้าหมายทั้ง 7 ชุมชน จำนวน 500 คน) ซึ่งคิดเป็นร้อยละทั้งหมดของผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมดดังนี้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมทั้งหมด 398 คน
เพื่อเป็นการค้นหากลุ่มเสี่ยงรายใหม่และส่งเสริมป้องกันโรคในกลุ่มเสี่ยงรายเก่า ตลอดการติดตาม
กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมี พร้อมทั้ง ส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกวิธีต่อไป ดังนั้น
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริกจึงขอจัดทำโครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงในการสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นให้แก่เกษตรกรที่ได้สัมผัสสารเคมีรายใหม่ และติดตามเกษตรกรผู้มีผลเลือดเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น
- เพื่อให้เกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี ได้รับความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้ถูกต้อง เกิดการดูแลตัวเองได้อย่างต่อเนื่อง
- เพื่อกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างถูกวิธี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ค่าหมึกปริ้นเอกสาร
- ค่าเอกสารประกอบการอบรม, แบบคัดกรองสุขภาพ และแบบประเมินก่อนการอบรม-หลังการอบรม (Pre-Testและ Post-Test)
- ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ในการประชาสัมพันธ์/อบรม เช่น ปากกา, กระดาษ, ปากกาเคมีและกระดาษบรู๊ฟ เป็นต้น
- สำลีก้อน จำนวน 4 ถุง X 200 บาท
- ถุงมือทางการแพทย์ จำนวน 5 กล่อง
- แอลกอฮอลล์ 70 % จำนวน 5 ขวด X 60 บาท
- ค่าจัดทำป้ายผ้า จำนวน 1 ผืน
- ค่ากระดาษ A4, กระดาษสี A4 และสันแฟ้ม
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 573 คน X 50 บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 573 คน X 25 บาท
- ค่าวิทยากร X 3 ชั่วโมง X 600 บาท
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 573 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 573 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 กลุ่มผู้มีภาวะเสี่ยงจากการทำงานด้านการเกษตร (รายเก่า) ได้รับการติดตามตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นซ้ำ และสามารถดูแลและป้องกันตนเองจากการสัมผัสสารเคมี
2 กลุ่มผู้มีภาวะเสี่ยงจากการทำงานด้านการเกษตร (รายใหม่) ได้รับความรู้พร้อมทั้งได้รับการคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น ส่งเสริม และป้องกันโรคได้
3 เกิดการเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของกลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี และได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาที่ถูกวิธีต่อไป
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นให้แก่เกษตรกรที่ได้สัมผัสสารเคมีรายใหม่ และติดตามเกษตรกรผู้มีผลเลือดเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงรายเก่าได้รับความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรมและปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง |
80.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี ได้รับความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้ถูกต้อง เกิดการดูแลตัวเองได้อย่างต่อเนื่อง ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี ได้รับความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้ถูกต้อง เกิดการดูแลตัวเองได้อย่างต่อเนื่อง |
80.00 |
|
||
3 | เพื่อกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างถูกวิธี |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 1146 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 573 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 573 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นให้แก่เกษตรกรที่ได้สัมผัสสารเคมีรายใหม่ และติดตามเกษตรกรผู้มีผลเลือดเสี่ยงและไม่ปลอดภัยได้รับการตรวจสุขภาพเบื้องต้น (2) เพื่อให้เกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมี ได้รับความรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติได้ถูกต้อง เกิดการดูแลตัวเองได้อย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อกลุ่มเสี่ยงที่มีภาวะผิดปกติได้รับการส่งต่อ และรักษาอย่างถูกวิธี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าหมึกปริ้นเอกสาร (2) ค่าเอกสารประกอบการอบรม, แบบคัดกรองสุขภาพ และแบบประเมินก่อนการอบรม-หลังการอบรม (Pre-Testและ Post-Test) (3) ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ในการประชาสัมพันธ์/อบรม เช่น ปากกา, กระดาษ, ปากกาเคมีและกระดาษบรู๊ฟ เป็นต้น (4) สำลีก้อน จำนวน 4 ถุง X 200 บาท (5) ถุงมือทางการแพทย์ จำนวน 5 กล่อง (6) แอลกอฮอลล์ 70 % จำนวน 5 ขวด X 60 บาท (7) ค่าจัดทำป้ายผ้า จำนวน 1 ผืน (8) ค่ากระดาษ A4, กระดาษสี A4 และสันแฟ้ม (9) ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 573 คน X 50 บาท (10) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 573 คน X 25 บาท (11) ค่าวิทยากร X 3 ชั่วโมง X 600 บาท
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมความรู้และคัดกรองสุขภาพแก่กลุ่มเกษตรกรผู้มีภาวะเสี่ยงใน การสัมผัสสารเคมีในพื้นที่ ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7889-3-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลปริก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......