กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง ปี๒๕๖๑

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง


“ โครงการส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง ปี๒๕๖๑ ”

ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางธัญญารัตน์ พรหมปลัด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง ปี๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1486-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 21 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง ปี๒๕๖๑ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง ปี๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง ปี๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1486-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 21 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลิพัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจข้อมูลของประชากรในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง อำเภอ ปะเหลียน จังหวัดตรังจำนวน ๗ หมู่บ้านพบว่า มีอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีอัตราเพิ่มขึ้นทุกปี คือในปี พ.ศ.๒๕๕๘ มีอัตราเพิ่มร้อยละ ๗และในปี พ.ศ.๒๕๖๐ มีอัตราเพิ่มเป็นร้อยละ ๙เนื่องจากประชาการขาดความรู้มีพฤติกรรมหรือทัศนะคติที่ไม่เหมาะสมเกี่ยวกับโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงจึงทำให้มีแนวโน้มของการเกิดโรคเพิ่มขึ้น นอกจากนี้กลุ่มผู้ป่วยที่มีในความดูแล บางส่วนนั้นมีภาวะแทรกซ้อนของโรคเกิดขึ้น คือ ในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวานทั้งหมดของปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จำนวน ๙๐ คน มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้าจำนวน ๒ คน มีภาวะแทรกซ้อนที่ตาจำนวน๑ คน มีภาวะแทรกซ้อนทางไตโดยผลการตรวจ BUN และ Ceratinine (BUN ค่าปกติ = ๘ – ๒๐ mg/dl, Crค่าปกติ= ๐.๕ – ๑.๕ ml/dl )ผิดปกติจำนวน ๒๖ คน และผลการประเมินภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน๖๑ คนผลการตรวจ BUN และ Ceratinineผิดปกติจำนวน ๑๒ คน และควบคุมระดับความดันให้อยู่ในเกณฑ์ปกติไม่ได้ ติดต่อกันนานกว่า ๓เดือน คือ
มากกว่า ๑๔๐/๙๐ mmHg จำนวน ๑๔ คน เมื่อสำรวจภาวะสุขภาพของคนในชุมชนพบว่าประชากรที่มีอัตราการเกิดโรคและประชากรที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อ การเกิดโรคจะอยู่ในกลุ่มประชากรที่มีอายุตั้งแต่๓๕ ปี ขึ้นไปซึ่งเป็นกลุ่มวัยทำงานและมีบทบาททางเศรษฐกิจของชุมชนกลุ่มนี้มักมีปัญหาการบริโภคที่ไม่เหมาะสมขาดการออกกำลังกาย มีภาวะน้ำหนักเกินอาจจะเกิดจาการทำงานความเร่งรีบในชีวิตประจำวัน แหล่งที่มาของอาหารการกินความนิยมอาหารถุงและอาหารสำเร็จรูปเครื่องดื่มมีน้ำตาลสูงตามท้องตลาดหาซื้อได้ง่าย ทำให้กลุ่มวัยทำงานมีภาวะสุขภาพไม่ดีจึงจำเป็นต้องมีการส่งเสริมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคในกลุ่มนี้เป็นพิเศษ โดยการสำรวจจากการใช้แบบบันทึกการคัดกรองความเสี่ยงพบว่ามีกลุ่มประชากรที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน จำนวน๗๐ คนและกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงจำนวน ๑๑๐ คน จากข้อมูลดังกล่าวนำไปสู่การจัดทำโครงการ ส่งเสริม ปรับเปลี่ยน พฤติกรรม เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี ๒๕๖๑ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง เพื่อควบคุมป้องกันการเกิดโรคเพิ่มขึ้นและยังนำมาซึ่งการจัดตั้งกลุ่มเครือข่ายให้ประชาชนดูแลกันเองในชุมชนสามารถแนะนำพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวอีกด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงที่มารับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง
  2. เพื่อจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงเพื่อห่างไกลจากภาวะแทรกซ้อนของโรค
  3. เพื่อติดตามประเมินผลผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรค
  4. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง โรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง ให้ดูแลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมไม่เกิดภาวะโรคแทรกซ้อนกับผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เข้ารับการอบรมประเมินแบบสอบถาม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 180
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง มีความรู้ และทัศนคติที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรค ๒. ผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรค ได้รับการติดตามประเมินผลเป็นระยะตามที่กำหนดไว้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงที่มารับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่มารับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง เข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยความสมัครใจ ร้อยละ ๙๐
0.00

 

2 เพื่อจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงเพื่อห่างไกลจากภาวะแทรกซ้อนของโรค
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น และ มีภาวะแทรกซ้อนของโรคลดลง ร้อยละ ๗๐
0.00

 

3 เพื่อติดตามประเมินผลผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรค
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น และ มีภาวะแทรกซ้อนของโรคลดลง ร้อยละ ๗๐
0.00

 

4 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง โรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง ให้ดูแลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมไม่เกิดภาวะโรคแทรกซ้อนกับผู้ป่วย
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค มีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น และ มีภาวะแทรกซ้อนของโรคลดลง ร้อยละ ๗๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 180
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงที่มารับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง (2) เพื่อจัดกิจกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของ ผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงเพื่อห่างไกลจากภาวะแทรกซ้อนของโรค (3) เพื่อติดตามประเมินผลผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรค (4) เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง โรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูง ให้ดูแลได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมไม่เกิดภาวะโรคแทรกซ้อนกับผู้ป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เข้ารับการอบรมประเมินแบบสอบถาม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเรื้อรัง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง ปี๒๕๖๑ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1486-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธัญญารัตน์ พรหมปลัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด