กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
ออกตรวจสุขภาพเด็ก 3 ครั้ง พร้อมติดตามเด็ก ชั่งน้ำหนักเด็ก และให้ชุดอาหารเสริม12 กันยายน 2561
12
กันยายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ ต.ปากล่อ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ติดตามเยี่ยมบ้านเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการทุกๆ 1 เดือน วันที่12 กรกฎาคม 2561 ติดตามครั้งที 1 มอบอาหารเสริมแก่เด็กทีมีภาวะทุโภชนาการครั้งที่ 2 วันที่ 15 สิงหาคม 2561
    ติดตามผลจากการมอบอาหารเสริม ครั้งที 2 มอบอาหารเสริมแก่เด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการครั้งที่ 3 วันที่ 12 กันยายน 2561 ติดตามผลจากการมอบอาหารเสริม ครั้งที 3
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กมีความรู้ก่อนได้รับการอบรมร้อยละ 71 ซึ่งหลังได้รับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 86
  2. เด็ก 0-5 ปี ในกลุ่มเป้าหมายมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นในระยะเวลา 3 เดือน ตั้งแต่เดือน กรกฎาคม ถึง กันยายน 2561 ร้อยละ 100
  3. เด็ก 0-5 ปี ในกลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ร้อยละ 100
จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และฝึกปฏิบัติจริงแก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กในเรื่องโภชนาการ12 มิถุนายน 2561
12
มิถุนายน 2561รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ ต.ปากล่อ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

๑.คัดกรองเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ ณ ชุมชนตำบลปากล่อ ๒.อบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการเด็ก 0-5 ปีและฝึกปฎิบัติจริงแก่ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก     ๒.๑ ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมอบรม ครอบครัวรอบรู้สุขภาพและโภชนาการเด็ก     ๒.๒ อบรมให้ความรู้เรื่องโภชนาการเด็ก 0-5 ปี
    ๒.๓ รับประทานอาหารกลางวัน อาหารว่าง และเครื่องดื่ม     ๒.๔ มอบอาหารเสริมแก่เด็กที่มีภาวะทุโภชนาการ
๓.ติดตามเยี่ยมบ้านเด็ก 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการทุกๆ ๑ เดือน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

๑.ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กมีความรู้ก่อนได้รับการอบรมร้อยละ ๗๑ ซึ่งหลังได้รับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘๑ ๒.เด็ก 0-5 ปี ในกลุ่มเป้าหมายมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นในระยะเวลา ๓ เดือน ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ถึง สิงหาคม ๒๕๖๑ ร้อยละ 100 ๓.เด็ก 0-5 ปี ในกลุ่มเป้าหมายได้รับการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดร้อยละ 100