โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก ”
อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลการิม กะมะ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ
มิถุนายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก
ที่อยู่ อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-l3059-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มิถุนายน 2561 ถึง 5 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก " ดำเนินการในพื้นที่ อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ รหัสโครงการ 61-l3059-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มิถุนายน 2561 - 5 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วันงดสูบบุหรี่โลกจัดขึ้นครั้งแรกในวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ.1988 โดยองค์การอนามัยโลก เนื่องจากเล็งเห็นอันตรายของบุหรี่ต่อสุขภาพ ของผู้สูบบุหรี่และผู้ไม่สูบบุหรี่แต่ได้รับควันบุหรี่ การจัดงานวันงดสูบบุหรี่โลกก็เพื่อกระตุ้นให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบ ให้รัฐบาลชุมชนและประชากรโลก ตระหนักถึงความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรมและกระตุ้นให้รัฐบาลกำหนดนโยบาย/กฎหมายเพื่อควบคุมยาสูบ องค์การอนามัยโลกระบุชัดเจนว่า การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญของการป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรที่สามารถป้องกันได้ และกำหนดให้วันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปีเป็นวันงดสูบบุหรี่โลก ( World No Tobacco Day) ซึ่งวันงดสูบบุหรี่โลกปีนี้ (วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕61) มีคำขวัญว่า “บุหรี่ตัวร้าย ทำลายหัวใจ” (Tobacco Breaks Heart)
ปัญหาการสูบบุหรี่ในประเทศไทยทวีความรุนแรง โดยเฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ที่ลดน้อยลงและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม อย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เพราะในควันบุหรี่มีสารพิษอยู่มากมาย อาทิ นิโคติน มีลักษณะเป็นน้ำมัน ไม่มีสี มีฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลาง ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง, ทาร์ เป็นน้ำมันเหนียวข้น สีน้ำตาล โดยสารเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้สูบบุหรี่และผู้ที่อยู่ใกล้กับผู้สูบบุหรี่ทั้งสิ้น ควันบุหรี่ก่อให้เกิดผลเสียแก่สุขภาพของผู้สูบบุหรี่ และผู้ไม่สูบบุหรี่ที่อยู่ใกล้เคียงหลายประการ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งคร่าชีวิตประชากรโลกมากกว่าสาเหตุอื่นๆ การสูบบุหรี่ และการได้รับควันบุหรี่มือสองเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตร้อยละ 12 จากโรคหัวใจทั้งหมด การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญลำดับที่ 2 ของการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด รองจากโรคความดันโลหิตอาจทำให้เกิดมะเร็งปอดและอวัยวะอื่น อีกทั้งควันบุหรี่ยังทำให้เกิดโรคบางโรค เช่นโรคหอบหืด หรือโรคภูมิแพ้มีอาการกำเริบขึ้น ทุกปีจะมีผู้เสียชีวิตจากบุหรี่ปีละ ๔๐๐,๐๐๐ คน หรืออาจจะมากกว่านั้นแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียงบประมาณเป็นค่ารักษาโรคที่เกิดจากบุหรี่มากมาย ผู้ที่อยู่กับผู้ที่สูบบุหรี่ ก็ได้รับผลเช่นเดียวกันเราเรียกกลุ่มนี้ว่าสูบบุหรี่มือสอง
กองสาธารณสุขฯ ได้ตระหนักถึงปัญหาการสูบบุหรี่ จึงได้จัดทำ “โครงการรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก” เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เท่าทันถึงโทษ และพิษภัยของบุหรี่ ลดความเสี่ยงของการติดบุหรี่ และการเกิดโรคต่างๆ ตามมา รวมทั้งการรณรงค์และสร้างแรงจูงใจในการลด ละเลิก สูบบุหรี่ เพื่อผลักดันให้ “สังคมไทยปลอดบุหรี่” อย่างแท้จริงได้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ป้ายไวนิลโครงการ
- ประชาสัมพันธ์โดยใช้ป้ายไวนิล
- ค่าอาหารกลางวัน ๑๒๐ คน x ๒ มื้อ ๕๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๑๒๐ คน x ๒ มื้อ x ๒๕ บาท
- ค่าเช่าเก้าอี้ ๑๒๐ ตัว x ๕ บาท
- ค่าเช่าโต๊ะ ๒ ตัว x ๑๐ บาท
- ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ความรู้ ขนาด ๑.๕ x ๐.๖ เมตร จำนวน ๒ ผืน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กและเยาวชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโทษและพิษภัยบุหรี่
๒. สามารถสร้างแรงจูงใจในการลด ละ เลิก การสูบบุหรี่
๓. ชุมชนเข้มแข็งและมีภูมิคุ้มกันในตนเองต่อปัญหาการสูบบุหรี่ในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
120
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ป้ายไวนิลโครงการ (2) ประชาสัมพันธ์โดยใช้ป้ายไวนิล (3) ค่าอาหารกลางวัน ๑๒๐ คน x ๒ มื้อ ๕๐ บาท (4) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๑๒๐ คน x ๒ มื้อ x ๒๕ บาท (5) ค่าเช่าเก้าอี้ ๑๒๐ ตัว x ๕ บาท (6) ค่าเช่าโต๊ะ ๒ ตัว x ๑๐ บาท (7) ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ความรู้ ขนาด ๑.๕ x ๐.๖ เมตร จำนวน ๒ ผืน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-l3059-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดุลการิม กะมะ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก ”
อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ
หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลการิม กะมะ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
มิถุนายน 2561
ที่อยู่ อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-l3059-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 5 มิถุนายน 2561 ถึง 5 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก " ดำเนินการในพื้นที่ อาคารอเนกประสงค์ อบต.มะนังดาลำ รหัสโครงการ 61-l3059-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 5 มิถุนายน 2561 - 5 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังดาลำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วันงดสูบบุหรี่โลกจัดขึ้นครั้งแรกในวันที่ 31 พฤษภาคม ค.ศ.1988 โดยองค์การอนามัยโลก เนื่องจากเล็งเห็นอันตรายของบุหรี่ต่อสุขภาพ ของผู้สูบบุหรี่และผู้ไม่สูบบุหรี่แต่ได้รับควันบุหรี่ การจัดงานวันงดสูบบุหรี่โลกก็เพื่อกระตุ้นให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบ ให้รัฐบาลชุมชนและประชากรโลก ตระหนักถึงความสำคัญและเข้าร่วมกิจกรรมและกระตุ้นให้รัฐบาลกำหนดนโยบาย/กฎหมายเพื่อควบคุมยาสูบ องค์การอนามัยโลกระบุชัดเจนว่า การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญของการป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควรที่สามารถป้องกันได้ และกำหนดให้วันที่ 31 พฤษภาคม ของทุกปีเป็นวันงดสูบบุหรี่โลก ( World No Tobacco Day) ซึ่งวันงดสูบบุหรี่โลกปีนี้ (วันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕61) มีคำขวัญว่า “บุหรี่ตัวร้าย ทำลายหัวใจ” (Tobacco Breaks Heart) ปัญหาการสูบบุหรี่ในประเทศไทยทวีความรุนแรง โดยเฉพาะอายุของนักสูบหน้าใหม่ที่ลดน้อยลงและมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ส่งผลกระทบทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม อย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เพราะในควันบุหรี่มีสารพิษอยู่มากมาย อาทิ นิโคติน มีลักษณะเป็นน้ำมัน ไม่มีสี มีฤทธิ์กระตุ้นประสาทส่วนกลาง ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง, ทาร์ เป็นน้ำมันเหนียวข้น สีน้ำตาล โดยสารเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้สูบบุหรี่และผู้ที่อยู่ใกล้กับผู้สูบบุหรี่ทั้งสิ้น ควันบุหรี่ก่อให้เกิดผลเสียแก่สุขภาพของผู้สูบบุหรี่ และผู้ไม่สูบบุหรี่ที่อยู่ใกล้เคียงหลายประการ เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งคร่าชีวิตประชากรโลกมากกว่าสาเหตุอื่นๆ การสูบบุหรี่ และการได้รับควันบุหรี่มือสองเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตร้อยละ 12 จากโรคหัวใจทั้งหมด การสูบบุหรี่เป็นสาเหตุสำคัญลำดับที่ 2 ของการเสียชีวิตจากโรคหัวใจและหลอดเลือด รองจากโรคความดันโลหิตอาจทำให้เกิดมะเร็งปอดและอวัยวะอื่น อีกทั้งควันบุหรี่ยังทำให้เกิดโรคบางโรค เช่นโรคหอบหืด หรือโรคภูมิแพ้มีอาการกำเริบขึ้น ทุกปีจะมีผู้เสียชีวิตจากบุหรี่ปีละ ๔๐๐,๐๐๐ คน หรืออาจจะมากกว่านั้นแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียงบประมาณเป็นค่ารักษาโรคที่เกิดจากบุหรี่มากมาย ผู้ที่อยู่กับผู้ที่สูบบุหรี่ ก็ได้รับผลเช่นเดียวกันเราเรียกกลุ่มนี้ว่าสูบบุหรี่มือสอง กองสาธารณสุขฯ ได้ตระหนักถึงปัญหาการสูบบุหรี่ จึงได้จัดทำ “โครงการรณรงค์วันงดสูบบุหรี่โลก” เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เท่าทันถึงโทษ และพิษภัยของบุหรี่ ลดความเสี่ยงของการติดบุหรี่ และการเกิดโรคต่างๆ ตามมา รวมทั้งการรณรงค์และสร้างแรงจูงใจในการลด ละเลิก สูบบุหรี่ เพื่อผลักดันให้ “สังคมไทยปลอดบุหรี่” อย่างแท้จริงได้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ป้ายไวนิลโครงการ
- ประชาสัมพันธ์โดยใช้ป้ายไวนิล
- ค่าอาหารกลางวัน ๑๒๐ คน x ๒ มื้อ ๕๐ บาท
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๑๒๐ คน x ๒ มื้อ x ๒๕ บาท
- ค่าเช่าเก้าอี้ ๑๒๐ ตัว x ๕ บาท
- ค่าเช่าโต๊ะ ๒ ตัว x ๑๐ บาท
- ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ความรู้ ขนาด ๑.๕ x ๐.๖ เมตร จำนวน ๒ ผืน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กและเยาวชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องโทษและพิษภัยบุหรี่ ๒. สามารถสร้างแรงจูงใจในการลด ละ เลิก การสูบบุหรี่ ๓. ชุมชนเข้มแข็งและมีภูมิคุ้มกันในตนเองต่อปัญหาการสูบบุหรี่ในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 120 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ป้ายไวนิลโครงการ (2) ประชาสัมพันธ์โดยใช้ป้ายไวนิล (3) ค่าอาหารกลางวัน ๑๒๐ คน x ๒ มื้อ ๕๐ บาท (4) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ๑๒๐ คน x ๒ มื้อ x ๒๕ บาท (5) ค่าเช่าเก้าอี้ ๑๒๐ ตัว x ๕ บาท (6) ค่าเช่าโต๊ะ ๒ ตัว x ๑๐ บาท (7) ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ความรู้ ขนาด ๑.๕ x ๐.๖ เมตร จำนวน ๒ ผืน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์งดสูบบุหรี่โลก จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-l3059-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดุลการิม กะมะ ผอ.กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......