กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขาม ”
ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสุวีณา ขวัญหมัด




ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขาม

ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5251-4-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขาม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขาม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขาม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5251-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้เห็นชอบให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๕ตามมาตรา ๑๘(๙) และมาตรา ๔๗ โดยมีวัตถุประสงค์ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ตลอดจนส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโดยมีการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมของบุคคลในพื้นที่ในรับท้องถิ่นเทศบาลตำบลสำนักขาม ได้ตอบรับนโยบายและได้ดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕4 เป็นต้นมา ซึ่งการบริหารงาน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขาม ใช้แนวทางการดำเนินงานที่ต้องใช้ชุมชนเป็นจุดศูนย์กลางในการเรียนรู้ และค้นหาปัญหาทางด้านสุขภาพรวมถึงการดำเนินการแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพโดยชุมชน และเพื่อชุมชนเองคณะกรรมการบริหารกองทุนฯและอนุกรรมการกองทุนฯบุคลากรทั้งภาครัฐและภาคีเครือข่ายทางด้านสุขภาพ จะต้องพัฒนาศักยภาพเพื่อพัฒนาตนเอง เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขามซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขามให้มีประสิทธิภาพ และมีความยั่งยืน การจัดการเรียนรู้จะทำให้บรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ขององค์กรต่าง ๆ อย่างน้อย ๓ ประการคือ บรรลุเป้าหมายของงาน เป้าหมายของการพัฒนาคนและเป้าหมายของระบบการพัฒนาองค์กรอดีตที่ผ่านมาการดำเนินงานการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ บุคลากรทางด้านสาธารณสุข จะเป็นหน่วยงานที่ดำเนินการแก้ปัญหาทางด้านสุขภาพ องค์กรภาคประชาชน ชุมชนไม่ได้ดำเนินการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ซึ่งทำให้การดำเนินการแก้ไขปัญหาทางด้านสุขภาพไม่บรรลุเป้าหมายทำให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขามมีการใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ จากปัญหาดังกล่าวสำนักงานเลขานุการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขาม จึงจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขาม มีระบบการบริหารจัดการกองทุนให้มีประสิทธิภาพประสิทธิผล มีคุณภาพและมีความยั่งยืนพร้อมทั้งให้คณะกรรมการกองทุนความรู้ ความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพทั้งในด้านการบริหารงานกองทุนฯกฎเกณฑ์ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องและ การจัดทำแผนสุขภาพ การพิจารณากลั่นกรองและติดตามประเมินผลโครงการ รวมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อนำมาปรับใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขามต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการสำหรับดำเนินงานและช่วยงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ.
  2. เพื่ออนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
  3. เพื่อจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สนับสนุนการทำงานกองทุนหักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/60
  2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 4/60
  3. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 5/60
  4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนครั้งที่ 2/60

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขามได้รับความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ สามารถบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ
  2. แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 3.กระบวนการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพรวดเร็ว มีเครื่องอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานที่จำเป็นและเพียงพอต่อการทำงาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 1/60

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 1/60 1. พูดคุยเพื่อวางแผนการดำเนินงานกองทุนฯในปีงบประมาณ 2560 2. พิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการบริหารจัดการกองทุน(ประเภท 4)
3. รายงานสถานการณ์การเงินการคลังของกองทุนฯ 4. ปรับปรุงโครงสร้างของคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ

 

30 20

2. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนครั้งที่ 2/60

วันที่ 23 มีนาคม 2560 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯและทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 2/60 1. รายงานสถานการณ์ทางการเงินและการคลังของกองทุนฯ 2. รายงานขั้นตอนการเบิกจ่ายเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ
3. แนะนำรายชื่อคณะกรรมการบริหารกองทุนฯคนใหม่ 4. แนะนำรายชื่อคณะทำงานกองทุนฯ 5. พิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการเพื่อบรรจุเข้าแผนสุขภาพของกองทุนฯ 6.พิจารณาอนุมัติโครงการ ประจำปี 2560

 

26 17

3. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/60

วันที่ 5 เมษายน 2560 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 3/60 1. พิจารณาอนุมัติโครงการเดิมที่แนะนำให้ปรับแก้2 โครงการ 2. พิจารณาอนุมัติแผนสุขภาพตำบลสำนักขาม ประจำปี 2560 (เพิ่มเติม) 3. พิจารณาอนุมัติโครงการ รอบที่ 2/2560 4. พูดคุยเพื่อนัดหมายการประชุมครั้งต่อไป

 

25 20

4. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 4/60

วันที่ 3 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 4/60 1. พิจารณาอนุมัติโครงการ (โครงการเดิมที่แนะนำให้ปรับแก้ 2. พูดคุยแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำงานกองทุนฯ กับทีมพี่เลี้ยง

 

25 20

5. ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 5/60

วันที่ 24 สิงหาคม 2560 เวลา 09:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯและคณะทำงานกองทุนฯ ครั้งที่ 5/60 1. แนะนำตัวกรรมการบริหารกองทุนฯ 2. รายงานสถานการณ์ทางการเงินการคลังของกองทุนฯ 3. รายงานความก้าวหน้าของโครงการที่ขอสนับสนุนงบประมาณกองทุนฯ 4. เสนอเปลี่ยนแปลงกรรมการบริหารฯกองทุนฯ 5. การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ 6. การจัดทำแผนสุขภาพกองทุนฯ ประจำปี 2560 7. รายงานปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานของกองทุนฯ ประจำปี 2560

 

25 20

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการสำหรับดำเนินงานและช่วยงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ.
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการสามารถพิจารณาอนุมัติแผนงานและโครงการ

 

2 เพื่ออนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
ตัวชี้วัด : 1.มีการประชุมกรรมการ เพื่อพิจารณาและติดตามงาน อย่างน้อย4 ครั้ง/ปี 2.โครงการที่เสนอได้รับการพิจารณาอย่างน้อย 80%

 

3 เพื่อจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สนับสนุนการทำงานกองทุนหักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1.วัสดุสำนักงานฯสำหรับการบริหารจัดการกองทุนฯถูกซื้อตามแผนงานที่วางไว้ 2.ครุภัณฑ์สำหรับบริหารกองทุนฯถูกจัดซื้อตามแผนงานที่วางไว้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการสำหรับดำเนินงานและช่วยงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพ. (2) เพื่ออนุมัติแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ (3) เพื่อจัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สนับสนุนการทำงานกองทุนหักประกันสุขภาพในระดับพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3/60 (2) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 4/60 (3) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 5/60 (4) ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนครั้งที่ 2/60

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลสำนักขาม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5251-4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุวีณา ขวัญหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด