กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการแช่เท้าลดอาการช้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2561 ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวตรีชฎาหอมจันทร์ ตำแหน่งแพทย์แผนไทย

ชื่อโครงการ โครงการแช่เท้าลดอาการช้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแช่เท้าลดอาการช้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแช่เท้าลดอาการช้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแช่เท้าลดอาการช้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1497-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เบาหวานเป็นโรคเรื้อรังใช้ยาตลอด สามารถเกิดอาการแทรกซ้อนต่างๆ มากมาย แผลที่เท้าเป้นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในผู้ป่วยเบาหวาน ในรายที่คุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดี ก่อให้เกิดปัญหาต่อระบบประสาทรับความรู้สึกส่วนปลาย ทำให้บริเวณเท้าชาไม่รู้สึกเจ็บปวด ไม่รับรู้แรงกดดันหรืออาจสูญเสียการรับรู้ร้อนหวานได้ สิ่งเหล่านี้ง่ายต่อการเกิดอุบัติเหตุหรือแม้แต่เมื่อมีแผลเกิดขึ้นที่เท้าจะไม่รู้สึกเจ็บ ทำให้แผลลุกลามอาจถึงขึ้นตัดขาดได้ พบว่าผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่การดูแลเท้าให้ถูกต้องเหมาะสมและการดูแลไม่ต่อเนื่องส่งผลให้ผุ้ป่วยมีปัญหาเรื่องเท้าและส่วนใหญ่มักมีอาการเท้าชา จึงทำให้เกิดอุบัติเหตุที่เท้าเกิดขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโยงใต้ เห็นความสำคัญในการดูและสุขภาพเท้าผุ้ป่วยเบาหวานด้วยวิธีการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านและการแพทย์แผนไทยซึ่งจะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดการเกิดแผล และผสมผสานพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้านที่ใช้สมุนไพรในการดูแลเท้าและยังให้ประชาชรู้จักการใช้สมุนไพรพื้นบ้านมารักษา ป้องกันไม่ให้เกิดโรคในระยะเบื้องต้นได้อย่างถุกต้องและประชาชนจำนวนมากจะได้ประโยชน์จากโครงการนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลฝ่าเท้าที่ถูกต้อง
  2. 2.เพื่อช่วยลดอาการชาฝ่าเท้าและลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
  3. 3.เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาในผู้ป่วยเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดกิจกรรมและสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อ
  2. จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน
  3. จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้การดูแลเท้าด้วยการแพทย์แผนไทยแก่กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลฝ่าเท้าที่ถูกต้อง 2.สามารถลดอาการชาฝ่าเท้าและลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน 3.สามารถลดความรุนแรงของการเกิดภวาระแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่่การตัดนิ้วเท้าหรือขาในผู้ป่วยเบาหวานได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดกิจกรรมและสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อ

วันที่ 2 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์และสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ได้ใช้งบ ค่าแผ่นพับความรู้ เป็นเงิน 100บาท ประชาสัมพันธ์โดยใช้ป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 300 บาท ตั้งจุดประชาสัมพันธ์ที่ รพ.สต.นาโยงใต้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต แผ่นพับความรู้เรื่องนวดเท้าด้วยตนเอง จำนวน 100 แผ่น และป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 1 ป้าย ผลลัพธ์ ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการลดอาการช้าในผู้ป่วยเบาหวาน

 

50 0

2. จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน

วันที่ 2 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองความเสี่ยงอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 50 คน สัมภาษณ์คัดกรองความเสี่ยงเบื้องต้น ตรวจคัดกรองความเสี่ยงอาการชาเท้าด้วย Monofilament
วันที่ 2 กันยายน 2561 จำนวน 50คน พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะเสี่ยง จำนวน 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 7.5 จากการสัมภาษณ์คัดกรองความเสี่ยงเบื้องต้นและการตรวจเท้าคัดกรองความเสี่ยงอาการชาเท้าได้มีการแจ้งให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงอาการที่เป็นอยู่ทราบเพื่อการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีผู้เข้ารับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงเบื้องต้น จำนวน 50 คน พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะเสี่ยง จำนวน 15 คนคิดเป็นร้อยละ 7.5

ผลลัพธ์ ผู้ที่เข้ารับการคัดกรองความเสี่ยงและผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเมื่อเป็นโรคเบาหวาน

 

50 0

3. จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้การดูแลเท้าด้วยการแพทย์แผนไทยแก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 2 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมให้ความรู้และโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคนแช่เท้าลดอาการชาในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย เบื้องต้น โดย นางสาวตรีชฎา  หอมจันทร์ ตำแหน่งนักวิชาการแพทย์แผนไทย  เรื่อง การลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาได้จัดกิจกรรมให้ความรู้และโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน ส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพร เช่น การแช่เท้าด้วยสมุนไพร การแนะนำการใช้สมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต มีผู้เข้าร่วมการอบรม 50 คน ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้เรื่อง เรื่อง การลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาได้จัดกิจกรรมให้ความรู้และโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน ส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพร เช่น การแช่เท้าด้วยสมุนไพร การแนะนำการใช้สมุนไพร

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงานโครงการแช่เท้าลดอาการชาในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทยปี 2561โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาโยงใต้ ตามวัตถุประสงค์พบว่า
1.ด้านให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลฝ่าเท้าที่ถูกต้อง ได้มีประชาสัมพันธ์และสื่อสารประชาชนสร้างการ รับรู้ผ่านสื่อเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ได้ใช้งบ ค่าแผ่นพับความรู้ เป็นเงิน 100บาท ประชาสัมพันธ์โดยใช้ป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 300 บาท พบว่าของผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลเท้าที่ถูกต้อง 2.ด้านกิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานวันที่ 2 กันยายน 2561 จำนวน 50คน ได้ใช้งบค่าอุปกรณ์ตรวจอาการชาเท้า Monofilament จำนวน 1 ชุด ชุดละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท พบว่าผู้เข้าร่วมโครงการมีภาวะเสี่ยง จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5 จากการสัมภาษณ์คัดกรองความเสี่ยงเบื้องต้นและการตรวจเท้าคัดกรองความเสี่ยงอาการชาเท้าได้มีการแจ้งให้ผู้เข้าร่วมโครงการทราบถึงอาการที่เป็นอยู่ทราบเพื่อการปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง และลดอาการอาการชาฝ่าเท้าและลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่เท้าของผู้เข้าร่วมโครงการได้ ๓.ด้านลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาได้จัดกิจกรรมให้ความรู้และโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่กลุ่มเป้าหมายทุกคน ส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพร เช่น การแช่เท้าด้วยสมุนไพร การแนะนำการใช้สมุนไพร ได้ใช้งบค่าอาหารว่าง 1 มื้อๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 70 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท การสื่อสารประชาชนสร้างโดยใช้ป้ายโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน 300 บาท ผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 50 คน ได้เชิญวิทยากร
นายคุณานนต์ หนูเอียด ตำแหน่ง จพ.สาธารณสุขปฏิบัติงาน(อายุรเวท) กิจกรรมให้ความรู้และสาธิตการแช่เท้าจำนวน 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท โดยมีค่าวัสดุอุปกรณ์ ค่าครีมนวดฝ่าเท้า จำนวน 50 ชุด เป็นเงิน 1,500 บาท ค่าสมุนไพรแช่เท้า จำนวน 50 ชุด เป็นเงิน 4,000 บาท กะละมังแช่เท้า จำนวน 50 ใบ
เป็นเงิน 1,750 บาท ผ้าขนหนู จำนวน 5 โหล เป็นเงิน 750 บาทพบว่าผู้เข้าร่วมโครงการเข้าใจการดูแลและการนำไปสู้การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง ส่งผลให้สามารถลดอาการชาฝ่าเท้าและลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน สามารถลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาในผู้ป่วยเบาหวานได้ต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลฝ่าเท้าที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ขอผู้เข้าร่วมมีความรู้ในการดูแลเท้า
0.00 100.00

ของผู้มีความรู้

2 2.เพื่อช่วยลดอาการชาฝ่าเท้าและลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมไม่เกิดแผลที่เท้า
0.00 100.00

ของผู้เข้าร่วมไม่เกิดแผล

3 3.เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาในผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ่้วเท้าหรือขาในผู้ป่วยเบาหวานไม่เกินร้อยละ 0.05
0.00 75.00

มีภาวะเสี่ยงที่อาจนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำภไปสู่การตัดนิ้วเท้า

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลฝ่าเท้าที่ถูกต้อง  (2) 2.เพื่อช่วยลดอาการชาฝ่าเท้าและลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน (3) 3.เพื่อลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาในผู้ป่วยเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดกิจกรรมและสื่อสารประชาชนสร้างการรับรู้ผ่านสื่อ (2) จัดกิจกรรมตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน (3) จัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้การดูแลเท้าด้วยการแพทย์แผนไทยแก่กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแช่เท้าลดอาการช้าในผู้ป่วยเบาหวานด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย ปี 2561 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวตรีชฎาหอมจันทร์ ตำแหน่งแพทย์แผนไทย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด