กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาตำบลต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
รหัสโครงการ 61-L-1497-2-11
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมผู้สูงอายุตำบลนาโยงใต้
วันที่อนุมัติ 22 มิถุนายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2561 - 10 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 14 กันยายน 2561
งบประมาณ 72,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางวันทนา มะนะโส
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.571,99.669place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มิ.ย. 2561 10 ก.ย. 2561 72,250.00
รวมงบประมาณ 72,250.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 90 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีข้อมูลประชากรผู้สูงอายุ ที่ชี้ให้เห็นว่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยโครงสร้างทางอายุของประชากรนั้น
เมื่อจำแนกประชากรออกเป็นกลุ่มอายุ 3 กลุ่มใหญ่ๆ คือ ประชากรวัยเด็ก (อายุน้อยกว่า 15 ปี) วัยแรงงาน (อายุ 15-59 ปี)
และวัยสูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) พบว่า ในระหว่างปี พ.ศ.2553 – พ.ศ.2583 สัดส่วนของประชากรวัยเด็ก และวัย
แรงงาน มีแนวโน้มลดลง ในขณะที่สัดส่วนของประชากรสูงอายุ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องถือได้ว่าสังคมไทยเข้าสู่
สู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุอย่างแท้จริง  การเพิ่มของผู้สูงอายุนั้นจะส่งผลกระทบต่อสภาพสังคม เศรษฐกิจ การจัดสรร
ทรัพยากรทางสุขภาพ เพราะมีผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยที่เจ็บป่วย ด้วยโรคเรื้อรังที่สำคัญคือ โรคเบาหวาน โรคความดัน
โลหิตสูงฯลฯ ยิ่งมีปัจจัยเสี่ยง เช่น ขาดการออกกำลังกาย อ้วน จะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคเรื้อรังอื่นเพิ่มมากขึ้น ทำให้
ทำให้เป็นภาระในการดูแลด้านต่างๆ มากขึ้น การเพิ่มของผู้สูงอายุนั้นจะส่งผลกระทบต่อสภาพสังคม เศรษฐกิจ การจัดสรร
ทรัพยากรทางสุขภาพ เพราะมีผู้สูงอายุจำนวนไม่น้อยที่เจ็บป่วย ด้วยโรคเรื้อรังที่สำคัญคือ ด้วยโรคเรื้อรังที่สำคัญคือโรค
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงฯลฯ ยิ่งมีปัจจัยเสี่ยง เช่น ขาดการออก  กำลังกาย อ้วน จะมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็น
โรคเรื้อรังอื่น เพิ่มมากขึ้นทำให้เป็นภาระในการดูแลด้านต่างๆ มากขึ้น
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว  เป็นการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ยังมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยและ
ยืดระยะเวลาของการมีสุขภาพดีให้ยาวนานที่สุด อาจแบ่งผู้สูงอายุ ออกเป็น 3 กลุ่ม ตามกลุ่มศักยภาพความสามารถ
ในการประกอบกิจวัตรประจำวัน โดยใช้แบบประเมินดัชนีบาร์เทล เอดีแอล ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ติดสังคม)
พึ่งพาตนเองได้ กลุ่มที่ 2 ติดบ้าน) ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง บางส่วนต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันบ้าง
กลุ่มที่ 3 ติดเตียง) คือ ผู้สูงอายุที่ป่วย ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ต้องการความช่วยเหลือในกิจวัตรประจำวันและการ
ดูแลฟื้นฟู สุขภาพต่อเนื่อง  ชมรมผู้สูงอายุตำบลนาโยงใต้ตระหนักถึงความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพและการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว

จิตอาสาได้ความรู้ในการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้พิการร้อยละ 70

70.00
2 2.เพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบมีส่วนร่วม

จิตอาสาช่วยดูแลสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้พิการ

70.00
3 3.เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพผู้สูงอายุให้ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

 

0.00
4 4.เพื่อส่งเสริมความรู้ให้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ

ส่งเสริมชมรมผู้สูงอายุ ผ่านเกณฑ์คุณภาพ

1.00
5 5.เพื่อเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุในการดูแลสุขภาพเพื่อเป็นต้นแบบด้านสุขภาพในชุมชน

มีบุคคลต้นแบบในชุมชน

4.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 71.00 4 72,250.00 -72,179.00
1 มิ.ย. 61 - 1 ก.ย. 61 3.กิจกรรมการดำเนินงานผู้สูงอายุ จัดการเรียนการสอน 0 46.00 46,300.00 -46,254.00
15 มิ.ย. 61 1.ประชุมแต่งตั้งคณะกรรมการทำงานพัฒนารูปแบบการทำงาน 0 1.00 1,500.00 -1,499.00
21 มิ.ย. 61 2.ฝึกอบรมอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ 0 19.00 19,000.00 -18,981.00
10 ก.ย. 61 4.กิจกรรมคัดเลือกบุคคลต้นแบบด้านสุขภาพ 0 5.00 5,450.00 -5,445.00
รวมทั้งสิ้น 0 71.00 4 72,250.00 -72,179.00
  1. พัฒนาเครือข่ายการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
    1.นำเสนอแผน/ โครงการต่อคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ
    2.สำรวจข้อมูล จัดทำทะเบียนผู้สูงอายุ
    3.ตรวจคัดกรองประเมินภาวะสุขภาพผู้สูงอายุ
    4.จัดอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุ
    5.จัดประชุมชมรมผู้สูงอายุ และคณะทำงานพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
    6.เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาผู้สูงอายุประจำปี
    7 ค้นหา.บุคคลต้นแบบผู้สูงอายุ
    1. เพิ่มศักยภาพโดยอบรมผู้ดูแลผู้สูงอายุและลงเยี่ยมบ้านพร้อมสหวิชาชีพ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุในพื้นที่รับผิดชอบ มีสุขภาพทางกาย ทางจิต และทางจิตวิญญานที่ดีสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุขผ่านการประเมินสุขภาพพึงประสงค์ มากกว่าร้อยละ 70 2.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชน มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเอง 3.ต้นแบบการดูแลผู้สูงอายุที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับผู้สูงอายุและครอบครัว

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2561 10:58 น.