โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ) ”
ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางปวันรัตน์ จันดาประดิษฐ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน
กุมภาพันธ์ 2562
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ)
ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กปฐมวัยจะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพคุณพ่อคุณแม่ผู้ประกอบอาหารจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับเด็กในอายุระหว่าง ๑ - ๖ ปี หรือวัยก่อนเรียน เด็กควรได้รับอาหารมื้อหลัก ๓ มื้อที่มีคุณค่าครบ ๕ หมู่ และหลากหลาย อาหารว่างไม่เกินวันละ ๒ มื้อ และอย่างลืมให้เด็กดื่มนมวันละ ๒ - ๓ แก้วการโภชนาการที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยพัฒนาการของเด็กให้มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสมอง การให้เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมมีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วนเพียงพอ จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งปัจจุบันและอนาคต การเติบโตของเด็กมีปัจจัยหลายด้าน ทั้งด้านพันธุกรรม ฮอร์โมน ภาวะโภชนาการ โรคทางกาย และสภาพแวดล้อมการเลี้ยงดู สามารถตรวจสอบการเจริญเติบโตของเด็กได้โดยวัดความยาวหรือส่วนสูง น้ำหนัก และวัดเส้นรอบศีรษะ เนื่องจากปัจจุบันนี้เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการที่ไม่สมส่วน โภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) จะต้องได้รับการดูแลแก้ไขพร้อมทั้งปลูกฝังส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพซึ่งส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน การพัฒนาการสมวัย ดังนั้นครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองต้องร่วมมือกันดูแลอย่างใกล้ชิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ) จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ ๑. เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข
ข้อที่ ๒. เพื่อจัดอบรมให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้
- จัดซื้อพัสดุจัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ พร้อมไมค์ลอย PA Speaker System ๔๕๐/๙๐๐W RMS ๑๕" อัดเสียงได้ MP๓ / USB / ไมค์ลอย VHF x ๒ เอ็กโค่, Mic/Line in ลำโพงพกพา
- คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) พร้อมจัดทำข้อมูล
- จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
46
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
46
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กปฐมวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข
๒. ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
๓. เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการปกติ
๔. เด็กมีสุขภาพดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้
วันที่ 9 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ (สภาพเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง สายวัดรอบศีรษะ และอื่นๆ ที่จำเป็น) หากชำรุดหรือไม่มีให้ขอรับสนับสนุนจากกองทุนเพื่อจัดหาทดแทน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้
๑.สภาพเครื่องชั่งน้ำหนักชำรุด วัดได้ไม่แน่นอน ต้องจัดซื้อใหม่
๒ ที่วัดส่วนสูง ชำรุด ตัวเลขไม่ชัด ต้องจัดหาใหม่ล
๓. จัดชื้อเครื่องเสียง เพื่อกระตุ้นให้เด็กออกลังกายด้วยกิจกรรมเข้าจังหวะ
0
0
2. จัดซื้อพัสดุจัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ พร้อมไมค์ลอย PA Speaker System ๔๕๐/๙๐๐W RMS ๑๕" อัดเสียงได้ MP๓ / USB / ไมค์ลอย VHF x ๒ เอ็กโค่, Mic/Line in ลำโพงพกพา
วันที่ 9 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ พร้อมไมค์ลอย PA Speaker System ๔๕๐/๙๐๐W RMS ๑๕" อัดเสียงได้ MP๓ / USB / ไมค์ลอย VHF x ๒ เอ็กโค่, Mic/Line in ลำโพงพกพา
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ พร้อมไมค์ลอย PA Speaker System ๔๕๐/๙๐๐W RMS ๑๕" อัดเสียงได้ MP๓ / USB / ไมค์ลอย VHF x ๒ เอ็กโค่, Mic/Line in ลำโพงพกพา
0
0
3. คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) พร้อมจัดทำข้อมูล
วันที่ 9 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
คัดรองเด็กปรากฏว่าเด็กผอมน้ำหนักน้อยกว่ามาตรฐาน ๒ คน
จัดซื้ออาหารเสริม จำนวน ๑๕๐ วัน
ตั้งแต่ ๙ ก.ค.๖๑ – ๑๔ ก.พ.๖๒
- นมสดรสจืด จำนวน ๓๐๐ กล่องๆ ละ ๑๐ บ. ๓,๐๐๐ บ.
- ไข่ จำนวน ๓๐๐ ฟองๆ ละ ๓.๕๐ บ. ๑,๐๕๐ บ.
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
คัดรองเด็กปรากฏว่าเด็กผอมน้ำหนักน้อยกว่ามาตรฐาน ๒ คน
จัดซื้ออาหารเสริม จำนวน ๑๕๐ วัน
ตั้งแต่ ๙ ก.ค.๖๑ – ๑๔ ก.พ.๖๒
- นมสดรสจืด จำนวน ๓๐๐ กล่องๆ ละ ๑๐ บ. ๓,๐๐๐ บ.
- ไข่ จำนวน ๓๐๐ ฟองๆ ละ ๓.๕๐ บ. ๑,๐๕๐ บ.
ผลปรากฏว่าเด็กได้รับการพัฒนาการดีขึ้นตามลำดับ
46
0
4. จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร
วันที่ 9 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำ
จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร สามารถนำความรู้ไปพัฒนาเด็กได้
46
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ ๑. เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข
ข้อที่ ๒. เพื่อจัดอบรมให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
๑. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข
๒.ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กสามารถจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กได้รับประทาน
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
92
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
46
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
46
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑. เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข
ข้อที่ ๒. เพื่อจัดอบรมให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ (2) จัดซื้อพัสดุจัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ พร้อมไมค์ลอย PA Speaker System ๔๕๐/๙๐๐W RMS ๑๕" อัดเสียงได้ MP๓ / USB / ไมค์ลอย VHF x ๒ เอ็กโค่, Mic/Line in ลำโพงพกพา (3) คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) พร้อมจัดทำข้อมูล (4) จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางปวันรัตน์ จันดาประดิษฐ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ) ”
ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางปวันรัตน์ จันดาประดิษฐ์
กุมภาพันธ์ 2562
ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กปฐมวัยจะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพคุณพ่อคุณแม่ผู้ประกอบอาหารจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับเด็กในอายุระหว่าง ๑ - ๖ ปี หรือวัยก่อนเรียน เด็กควรได้รับอาหารมื้อหลัก ๓ มื้อที่มีคุณค่าครบ ๕ หมู่ และหลากหลาย อาหารว่างไม่เกินวันละ ๒ มื้อ และอย่างลืมให้เด็กดื่มนมวันละ ๒ - ๓ แก้วการโภชนาการที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยพัฒนาการของเด็กให้มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสมอง การให้เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมมีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วนเพียงพอ จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งปัจจุบันและอนาคต การเติบโตของเด็กมีปัจจัยหลายด้าน ทั้งด้านพันธุกรรม ฮอร์โมน ภาวะโภชนาการ โรคทางกาย และสภาพแวดล้อมการเลี้ยงดู สามารถตรวจสอบการเจริญเติบโตของเด็กได้โดยวัดความยาวหรือส่วนสูง น้ำหนัก และวัดเส้นรอบศีรษะ เนื่องจากปัจจุบันนี้เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการที่ไม่สมส่วน โภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) จะต้องได้รับการดูแลแก้ไขพร้อมทั้งปลูกฝังส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพซึ่งส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน การพัฒนาการสมวัย ดังนั้นครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองต้องร่วมมือกันดูแลอย่างใกล้ชิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ) จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ ๑. เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข ข้อที่ ๒. เพื่อจัดอบรมให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้
- จัดซื้อพัสดุจัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ พร้อมไมค์ลอย PA Speaker System ๔๕๐/๙๐๐W RMS ๑๕" อัดเสียงได้ MP๓ / USB / ไมค์ลอย VHF x ๒ เอ็กโค่, Mic/Line in ลำโพงพกพา
- คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) พร้อมจัดทำข้อมูล
- จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 46 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 46 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เด็กปฐมวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข
๒. ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
๓. เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการปกติ
๔. เด็กมีสุขภาพดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ |
||
วันที่ 9 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำสำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ (สภาพเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง สายวัดรอบศีรษะ และอื่นๆ ที่จำเป็น) หากชำรุดหรือไม่มีให้ขอรับสนับสนุนจากกองทุนเพื่อจัดหาทดแทน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้
|
0 | 0 |
2. จัดซื้อพัสดุจัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ พร้อมไมค์ลอย PA Speaker System ๔๕๐/๙๐๐W RMS ๑๕" อัดเสียงได้ MP๓ / USB / ไมค์ลอย VHF x ๒ เอ็กโค่, Mic/Line in ลำโพงพกพา |
||
วันที่ 9 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ พร้อมไมค์ลอย PA Speaker System ๔๕๐/๙๐๐W RMS ๑๕" อัดเสียงได้ MP๓ / USB / ไมค์ลอย VHF x ๒ เอ็กโค่, Mic/Line in ลำโพงพกพา ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้เครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ พร้อมไมค์ลอย PA Speaker System ๔๕๐/๙๐๐W RMS ๑๕" อัดเสียงได้ MP๓ / USB / ไมค์ลอย VHF x ๒ เอ็กโค่, Mic/Line in ลำโพงพกพา
|
0 | 0 |
3. คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) พร้อมจัดทำข้อมูล |
||
วันที่ 9 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำคัดรองเด็กปรากฏว่าเด็กผอมน้ำหนักน้อยกว่ามาตรฐาน ๒ คน
จัดซื้ออาหารเสริม จำนวน ๑๕๐ วัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นคัดรองเด็กปรากฏว่าเด็กผอมน้ำหนักน้อยกว่ามาตรฐาน ๒ คน
จัดซื้ออาหารเสริม จำนวน ๑๕๐ วัน
|
46 | 0 |
4. จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร |
||
วันที่ 9 เมษายน 2562กิจกรรมที่ทำจัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร สามารถนำความรู้ไปพัฒนาเด็กได้
|
46 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ ๑. เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข
ข้อที่ ๒. เพื่อจัดอบรมให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ๑. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข ๒.ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กสามารถจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กได้รับประทาน |
70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 92 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 46 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 46 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑. เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข ข้อที่ ๒. เพื่อจัดอบรมให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ (2) จัดซื้อพัสดุจัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ พร้อมไมค์ลอย PA Speaker System ๔๕๐/๙๐๐W RMS ๑๕" อัดเสียงได้ MP๓ / USB / ไมค์ลอย VHF x ๒ เอ็กโค่, Mic/Line in ลำโพงพกพา (3) คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) พร้อมจัดทำข้อมูล (4) จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กองค์การบริหารส่วนตำบลท่าบอน (อนุบาล ๓ ขวบ) จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางปวันรัตน์ จันดาประดิษฐ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......