กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงล่าง ”

ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภัทน์ บุญจันทร์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงล่าง

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงล่าง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงล่าง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงล่าง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,530.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยจะต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเพียงพอต่อความต้องการจะช่วยให้ร่างกายเด็กเจริญเติบโตได้เต็มศักยภาพคุณพ่อคุณแม่ผู้ประกอบอาหารจึงควรให้ความสำคัญกับการเลือกโภชนาการที่เหมาะสมให้กับเด็กในอายุระหว่าง ๑ - ๖ ปี หรือวัยก่อนเรียน เด็กควรได้รับอาหารมื้อหลัก ๓ มื้อที่มีคุณค่าครบ ๕ หมู่ และหลากหลาย อาหารว่างไม่เกินวันละ ๒ มื้อ และอย่างลืมให้เด็กดื่มนมวันละ ๒ - ๓ แก้วการโภชนาการที่เหมาะสมเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยพัฒนาการของเด็กให้มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทั้งร่างกายและสมอง การให้เด็กได้รับอาหารที่เหมาะสมมีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วนเพียงพอ จึงเป็นการวางรากฐานชีวิตที่ดีสำหรับเด็กทั้งปัจจุบันและอนาคต การเติบโตของเด็กมีปัจจัยหลายด้าน ทั้งด้านพันธุกรรม ฮอร์โมน ภาวะโภชนาการ โรคทางกาย และสภาพแวดล้อมการเลี้ยงดู สามารถตรวจสอบการเจริญเติบโตของเด็กได้โดยวัดความยาวหรือส่วนสูง น้ำหนัก และวัดเส้นรอบศีรษะ เนื่องจากปัจจุบันนี้เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการที่ไม่สมส่วน โภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) จะต้องได้รับการดูแลแก้ไขพร้อมทั้งปลูกฝังส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพซึ่งส่งผลกระทบต่อพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน การพัฒนาการสมวัย ดังนั้นครูผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองต้องร่วมมือกันดูแลอย่างใกล้ชิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงล่าง จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑. เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย ข้อที่ ๓. ปลูกฝังส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร
  2. สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ (สภาพเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง สายวัดรอบศีรษะ และอื่นๆ ที่จำเป็น)
  3. คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม)
  4. จัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่
  5. จัดซื้ออาหารเสริม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 56
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 56
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กปฐมวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข ๒. ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย ๓. เด็กปฐมวัยมีภาวะโภชนาการปกติ
๔. เด็กมีสุขภาพดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ (สภาพเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง สายวัดรอบศีรษะ และอื่นๆ ที่จำเป็น)

วันที่ 2 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ครูสำรวจเครื่องมือเครื่องใช้ ชำรุดหรือไม่ ไม่มีให้จัดหา

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำเป็นต้องจัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่

 

0 0

2. คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม)

วันที่ 6 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม)  พร้อมจัดทำข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน  2 คน  (อ้วน) และทุพโภชนาการ  1 คน (ผอม)  พร้อมจัดทำข้อมูล

 

56 0

3. จัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครื่องชั่งน้ำหนัก ๑ เครื่อง ที่วัดส่วนสูง  ๑ อัน เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่  ๑ ตู้

 

56 0

4. จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร

วันที่ 13 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร  จำนวน ๕๖ คน  โดยวิทยากรจาก รพ.สต.ท่าบอน  -

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร  จำนวน ๕๖ คน

 

56 0

5. จัดซื้ออาหารเสริม

วันที่ 25 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้ออาหารเสริม จำนวน ๑๕๐ วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดซื้ออาหารเสริม จำนวน ๑๕๐ วัน

 

2 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑. เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย ข้อที่ ๓. ปลูกฝังส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข ๒. ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กสามารถจัดหาอาหารที่มีประโยชน์ให้เด็กได้รับประทาน ๓. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กมีสุขภาพดี
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 112
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 56
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 56
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑. เพื่อให้เด็กและเด็กก่อนวัยที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข ข้อที่ ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจ ถึงภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัย  ข้อที่ ๓. ปลูกฝังส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดการอบรมผู้ปกครอง คณะกรรมการ ศพด.และผู้ประกอบอาหาร (2) สำรวจตรวจสอบเครื่องมือเครื่องใช้ (สภาพเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง สายวัดรอบศีรษะ และอื่นๆ ที่จำเป็น) (3) คัดกรองเด็กที่มีภาวะโภชนาการมากเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) (4) จัดซื้อจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนัก ที่วัดส่วนสูง เครื่องขยายเสียง ตู้ลำโพงอเนกประสงค์ ๑๕ นิ้ว แบบเคลื่อนที่ (5) จัดซื้ออาหารเสริม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงล่าง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุภัทน์ บุญจันทร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด