กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน


“ โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงบน ”

ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางรุจิรา ทิศสักบุรี

ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงบน

ที่อยู่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-3-003 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 ตุลาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงบน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงบน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงบน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าบอน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5221-3-003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 ตุลาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าบอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ควรจะได้รับการส่งเสริมด้านโภชนาการเพื่อเด็กปฐมวัยได้รับประทานอาหารที่มีคุณภาพและปริมาณที่เพียงพอเหมาะสมกับวัย ซึ่งจะทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ สติปัญญาดี อาหารกลางวันจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักเรียนจะต้องได้รับประทานทุกคน และได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบทั้ง ๕ หมู่ เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้เติบโตเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มาพัฒนาประเทศชาติ ต่อไป ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงบนจึงได้ดำเนินโครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งได้เชิญผู้ปกครองเด็กปฐมวัยเข้าร่วมโครงการ เพื่อปลูกฝังให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ ๑. ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพในบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ข้อที่ ๒. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ส่งเสริมการออกกำลังกาย ข้อที่ ๓. เพื่อให้เด็กปฐมวัยสามารถปลูกผักที่บ้านได้ ข้อที่ ๔. เพื่อปลูกฝังให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เชิญปราชญ์ชาวบ้านมาบรรยายและสาธิตการทำปุ๋ยชีวภาพ (อีเอ็ม) ค่าวิทยากร ๑ คน = 12๐๐ บ. ค่าอาหารว่าง๒๐ คน = ๕๐๐ บ. ค่่าวัสดุ อบรม 600 บ.
  2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์1. จอบเหล็กพร้อมด้าม 2 ด้ามๆ ละ 200 บาท = 400 บาท 2. ซ่อมพรวน 5 ด้ามๆ ละ 100 บาท = 500 บาท 3. ถังฉีดพ่นจุลินทรีย์ชีวภาพ ขนาด 1.2 ลิตร 2 อันๆ ละ 100 บาท = 200 บาท 4. บัวรดน้ำขนาด 3 ลิตร 5 อันๆ ละ 120 บาท = 600 บาท 5. สายยางขนาด 1/2 นิ้ว

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 61
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กปฐมวัยเรียนรู้วิธีการปลูกผักปลอดสารพิษ ๒. เด็กสามารถบอกคุณค่าทางโภชนาการได้ ๓. ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์1. จอบเหล็กพร้อมด้าม 2 ด้ามๆ ละ 200 บาท = 400 บาท 2. ซ่อมพรวน 5 ด้ามๆ ละ 100 บาท = 500 บาท 3. ถังฉีดพ่นจุลินทรีย์ชีวภาพ ขนาด 1.2 ลิตร 2 อันๆ ละ 100 บาท = 200 บาท 4. บัวรดน้ำขนาด 3 ลิตร 5 อันๆ ละ 120 บาท = 600 บาท 5. สายยางขนาด 1/2 นิ้ว

วันที่ 27 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

๑. แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ             ๒. คัดกรองเด็กที่ไม่ชอบกินผัก
๓. เชิญวิทยากรบรรยายเรื่องการน้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน และสาธิตการทำปุ๋ยชีวภาพ (อีเอ็ม) ๔. เตรียมพื้นที่ปลูก และเพาะเมล็ดพันธุ์
๕. ดำเนินการปลูก ๖. บำรุง รดน้ำใส่ปุ๋ยพรวนดิน
๗. เก็บผลผลิตให้เด็กปฐมวัยนำกลับไปรับประทานที่บ้าน
            ๘. ครูรณรงค์ให้เด็กปฐมวัยรับประทานผัก             ๙. เตรียมพื้นที่ปลูกต่อในแปลงที่เก็บผลผลิตแล้ว

จัดซื้ออุปกรณ์ ๑. จอบเหล็กพร้อมด้าม ๒ ด้ามๆ ละ ๒๐๐ บ.  = ๔๐๐ บ. ๒. ซ่อมพรวน  ๕ ด้ามๆ ละ ๑๐๐ บ. = ๕๐๐ บ. ๓. ถังฉีดพ่นจุลินทรีย์ชีวภาพ ขนาด ๑.๒ ลิตร ๒ อันๆ ละ ๑๐๐  บ. = ๒๐๐ บ. ๔. บัวรดน้ำขนาด ๓ ลิตร ๕ อันๆ ละ ๑๒๐ บ. = ๖๐๐ บ. ๕. สายยางขนาด ๑/๒ นิ้ว ยาว ๒๐ เมตร = ๖๐๐ บ. ๖. ถังหมักน้ำปุ๋ยชีวภาพ ๒ ใบๆ ละ ๓๐๐ บ. = ๖๐๐ บ. ๗. แสลม (บังแดด) ๕๔๐ บ. ๘. แผงเพาะเมล็ด จำนวน ๒  แผงๆ ละ ๓๐ บ. = ๖๐ บ.

จัดซื้อวัสดุ ๑. ดินสำหรับปลูกผัก ๑,๐๐๐ บ.
๒. เมล็ดพันธุ์พืช ๕๕๐ บ.
๓. จุลินทรีย์ชีวภาพ ๒๕๐ บ.
๔. กากน้ำตาล  ๒๐๐ บ. ๕. ปุ๋ยชีวภาพ จำนวน ๑๐๐ กระสอบๆ ละ ๓๕ บ.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เก็บผักให้กับเด็กนำไปรับประทานที่บ้าน
  • ครู/ผู้ปกครองรณรงค์ให้เด็กปฐมวัยรับประทานผัก

 

0 0

2. เชิญปราชญ์ชาวบ้านมาบรรยายและสาธิตการทำปุ๋ยชีวภาพ (อีเอ็ม) ค่าวิทยากร ๑ คน = 12๐๐ บ. ค่าอาหารว่าง๒๐ คน = ๕๐๐ บ. ค่่าวัสดุ อบรม 600 บ.

วันที่ 27 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เชิญวิทยากรบรรยายเรื่องการน้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน และสาธิตการทำปุ๋ยชีวภาพ  (อีเอ็ม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดตั้งกลุ่มผู้ปกครองร่วมปลูกผักกับเด็กปฐมวัยในบริเวณ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ ๑. ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพในบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ข้อที่ ๒. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ส่งเสริมการออกกำลังกาย ข้อที่ ๓. เพื่อให้เด็กปฐมวัยสามารถปลูกผักที่บ้านได้ ข้อที่ ๔. เพื่อปลูกฝังให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ๑. ร้อยละ ๗๐ เด็กปฐมวัยสามารถบอกวิธีการปลูกผักได้ ๒. ร้อยละ ๑๐๐ เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาการ ทั้ง ๔ ด้าน ๓. ร้อยละ ๓๐ เด็กปฐมวัยสามารถปลูกผักที่บ้านได้ ๔. ร้อยละ ๓๐ ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 81
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 61
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ ๑. ปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษเพื่อสุขภาพในบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ข้อที่ ๒. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการ การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ส่งเสริมการออกกำลังกาย  ข้อที่ ๓. เพื่อให้เด็กปฐมวัยสามารถปลูกผักที่บ้านได้   ข้อที่ ๔. เพื่อปลูกฝังให้ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยได้น้อมนำปรัชญาแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงมาดำรงใช้ในชีวิตประจำวัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เชิญปราชญ์ชาวบ้านมาบรรยายและสาธิตการทำปุ๋ยชีวภาพ  (อีเอ็ม)  ค่าวิทยากร ๑ คน = 12๐๐ บ.          ค่าอาหารว่าง๒๐ คน =  ๕๐๐ บ. ค่่าวัสดุ อบรม 600 บ. (2) จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์1. จอบเหล็กพร้อมด้าม 2 ด้ามๆ ละ 200 บาท  = 400 บาท 2. ซ่อมพรวน 5 ด้ามๆ ละ 100 บาท = 500 บาท 3. ถังฉีดพ่นจุลินทรีย์ชีวภาพ ขนาด 1.2 ลิตร 2 อันๆ ละ 100 บาท = 200 บาท 4. บัวรดน้ำขนาด 3 ลิตร 5 อันๆ ละ 120 บาท = 600 บาท 5. สายยางขนาด 1/2 นิ้ว

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษตามแนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศาลาหลวงบน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5221-3-003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรุจิรา ทิศสักบุรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด