กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการเกษตรกรปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดีสุขมาก

ชื่อโครงการ โครงการเกษตรกรปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเกษตรกรปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเกษตรกรปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเกษตรกรปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1497-2-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,373.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประชากรไทยมีอาชีพพื้นฐานอยู่ในภาคเกษตรกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอกระบบผู้มีรายได้น้อย    แต่ทำงานที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ จากสภาพภูมิอากาศที่ร้อนจัด ท่าทางการทำงานที่มีความเสี่ยงต่อการปวดหลังและกล้ามเนื้ออักเสบ รวมทั้งการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพมีพิษทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ตั้งแต่ระดับเล็กน้อย  จนรุนแรงถึงแก่ชีวิต ขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้น ความเป็นพิษ และปริมาณที่ได้รับ สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถเข้าสู่ร่างกายได้หลายทาง โดยการสัมผัสทางผิวหนังที่ไม่สวมถุงมือและรองเท้าบู๊ท ป้องกันขณะทำงานกับสารเคมี การสูดหายใจละอองที่ฟุ้งกระจายในอากาศ  และการรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่มีสารเคมีปนเปื้อน พฤติกรรมที่ไม่ปลอดภัยทำให้เกษตรกร      มีความเสี่ยงจากการได้รับอันตราย จากสารเคมีเพิ่มขึ้น ยกตัวอย่างเช่น ใช้ถังภาชนะบรรจุสารเคมีที่รั่วซึม ฉีดพ่นสวนทิศทางลม ทำให้เสื้อผ้าเปียกชุ่มสารเคมี โดยไม่อาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าที่ซึมเปื้อนทันที เป็นต้น ตำบลนาโยงใต้เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประชาชน มีอาชีพเกษตรกรรม ปลูกพืชผักทั้งที่ไว้บริโภคภายในครัวเรือนและเพื่อการค้า ซึ่งเกษตรกรจำเป็นต้องได้รับความรู้เรื่องการดูแลป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช และได้รับการเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลนาโยงใต้ จึงได้จัดทำโครงการ “เกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพร  ล้างพิษ กายจิตผ่องใส” ขึ้น เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การป้องกันตนเองจากความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน การตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด โดยกิจกรรมประกอบด้วย การสำรวจข้อมูลเบื้องต้น การสัมภาษณ์ด้วยแบบประเมินความเสี่ยง การตรวจหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด การให้คำแนะนำดูแลสุขภาพเกษตรกรในชุมชน โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง สนับสนุนกระดาษทดสอบหาสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลนาโยงใต้ สนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรมเจาะเลือดตรวจคัดกรองฯ การจัดซื้อสมุนไพรรางจืดสำเร็จรูป และการอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรที่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เกษตรกรที่ทำการเพาะปลูกพืชได้รับการเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพ
  2. 2.เพื่อให้เกษตรกรที่ทำการเพาะปลูกพืช มีความรู้ความเข้าใจในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
  3. 3.เพื่อให้เกษตรกรที่ผลการตรวจเลือดผิดปกติ ได้รับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 3.จ่ายยาสมุนไพรรางจืด
  2. 1.คัดกรองควาามเสี่ยงต่อการมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือด
  3. 2.สัมภาษณ์ประวัติ และเจาะเลือดหาสารพิษตกค้างพร้อมแจ้งผลและให้คำแนะนำเป็นรายบุคคล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกษตรกรผู้ปลูกพืชได้รับการเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพ 2.เกษตรกรผู้ปลูกพืชมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช 3.เกษตรกรผู้ปลูกพืชที่ผลการตรวจเลือดผิดปกติ ได้รับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 3.จ่ายยาสมุนไพรรางจืด

วันที่ 15 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อสมุนไพรรางจืด ค่าจัดซื้อยาสมุนไพรรางจืดจำนวน 600แคปซูล เป็นเงิน 650 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกษตรกรผู้ปลูกพืชมีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

 

0 0

2. 2.สัมภาษณ์ประวัติ และเจาะเลือดหาสารพิษตกค้างพร้อมแจ้งผลและให้คำแนะนำเป็นรายบุคคล

วันที่ 19 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

สัมภาษณ์ประวัติ เจาะเลือดหาสารพิษตกค้างพร้อมแจ้งผลและให้คำแนะนำเป็นรายบุคคล 1.ค่าถ่ายเอกสารแบบประเมินความเสี่ยงจำนวน 50 ชุด ราคาชุดละ 1 บาท เป็นเงิน 50 บาท 2.ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่เจาะเลือดตรวจคัดกรองจำนวน 3 คน คนละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 3.ค่าอาหารว่างสำหรับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน คนละ 1 มื้อๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,500 บาาท 4.ค่าป้ายไวนิลโครงการขนาด 1.2*2.4 เมตร จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 450 บาท 5.ค่าจัดซื้อหลอดบรรจุเลือด จำนวน 1 กล่อง ราคารกล่องละ 93 บาท เป็นเงิน 93 บาาท 6.ค่าจัดซื้อเข็มเจาะเลือด จำนวน 1 กล่อง ราคากล่องละ 650 บาท เป็นเงิน 650 บาท 7.ค่าจัดซื้อแผ่นสไลด์ จำนวน 2 กล่อง ราคารกล่องละ 90 บาท เป็นเงิน 180 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกษตรกรผู้ปลูกพืชที่ผลการตรวจเลือดผิดปกติ ได้รับการศึกษาพยาบาลที่ถูกต้อง เกษตรกรผู้ปลูกพืชได้รับการเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพ

 

50 0

3. 1.คัดกรองควาามเสี่ยงต่อการมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือด

วันที่ 19 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

คัดกรองความเสี่ยงต่อการมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกษตรกรผู้ปลูกผัก ได้การคัดกรองความเสี่ยงต่อการมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เกษตรกรที่ทำการเพาะปลูกพืชได้รับการเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพ
ตัวชี้วัด : เกษตรกรผู้ปลูกพืชได้รับการคัดกรองความเสี่ยงจาการสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือด
50.00 50.00

 

2 2.เพื่อให้เกษตรกรที่ทำการเพาะปลูกพืช มีความรู้ความเข้าใจในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ตัวชี้วัด : เกษตรกรปลูกพืชได้รับการถ่ายทอดความรู้ ร้อยละ 100
50.00 50.00

 

3 3.เพื่อให้เกษตรกรที่ผลการตรวจเลือดผิดปกติ ได้รับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เกษตรกรที่มีผลเลือดอยู่ในระดับมีความเสี่ยงและไม่ปลอดภัย ได้รับยาสนุมไพรรางจีด ร้อยละ 100
5.00 5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เกษตรกรที่ทำการเพาะปลูกพืชได้รับการเฝ้าระวังสุขภาพจากการประกอบอาชีพ (2) 2.เพื่อให้เกษตรกรที่ทำการเพาะปลูกพืช มีความรู้ความเข้าใจในการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช (3) 3.เพื่อให้เกษตรกรที่ผลการตรวจเลือดผิดปกติ ได้รับการรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 3.จ่ายยาสมุนไพรรางจืด (2) 1.คัดกรองควาามเสี่ยงต่อการมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือด (3) 2.สัมภาษณ์ประวัติ และเจาะเลือดหาสารพิษตกค้างพร้อมแจ้งผลและให้คำแนะนำเป็นรายบุคคล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเกษตรกรปลอดโรคผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณดีสุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด