กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้


“ โครงการพัฒนาศักยภาพสมองเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมและความจำบกพร่อง ”

ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณดี สุขมาก

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพสมองเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมและความจำบกพร่อง

ที่อยู่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-20 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพสมองเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมและความจำบกพร่อง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพสมองเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมและความจำบกพร่อง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพสมองเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมและความจำบกพร่อง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโยงใต้ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1497-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาโยงใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในประเทศไทยกระทรวงสาธารณสุขได้ทำการสำรวจความชุกของโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุในปี พ.ศ. 2555
พบว่าผู้สูงอายุที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ทั่วประเทศไทย มีจำนวนผู้ที่เป็นโรคสมองเสื่อมร้อยละ 3.34ของจำนวนผู้สูงอายุ
ทั้งหมดโดยในส่วนของผู้สูงอายุในช่วงอายุ 60-64 ปี มีผู้ที่เป็นโรคสมองเสื่อมเพิ่ม จากเดิมร้อยละ 1 เป็นร้อยละ 31.3
และในผู้สูงอายุช่วงอายุมากกว่า 90 ปีขึ้นไป พบว่ามีผู้ที่เป็นโรคสมอง เสื่อมถึงร้อยละ 70 จากข้อมูลสำนักงานสถิติแห่งชาติ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ปี พ.ศ.2555 พบว่าประเทศไทยมีผู้สูงอายุร้อยละ 11.5ของของประชากร
ทั้งหมด กระทรวงสาธารณสุข สำรวจในปี 2555 พบว่ามีผู้สูงอายุที่สงสัยว่ามี ภาวะสมองเสื่อม ร้อยละ 5.1
ด้วยเหตุนี้ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลนาโยงใต้  จึงได้จัดทำโครงการนี้  เพื่อจัดหากิจกรรม ส่งเสริมความจำ
ที่เพิ่มขีดความสามารถการพัฒนาความคิด และความจำ ของผู้สูงอายุให้ได้มากที่สุด  พัฒนาความคิดชะลอโรคสมองเสื่อมใน
ผู้สูงอายุ” ยังได้มีความคิดเห็นในการเสริมกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุข  ญาติและผู้ดูแล เพื่อให้เกิด
ความรู้ความเข้าใจเพื่อในการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ในการใส่ใจดูแลผู้สูงอายุให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
อันจะช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจที่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นให้กับ ผู้สูงอายุและญาติต่อไป เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ
เพื่อป้องกันและชะลอความเสี่ยงในการเกิดโรคสมองเสื่อม ในผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ อสม. ญาติเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมและกลไก การเกิดโรค รวมทั้งรู้จักวิธีปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม
  2. 2.เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุและสร้างเครือข่ายหรือชมรมที่เข้มแข็งด้วยตนเองต่อไปได้
  3. 3.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างทัศนคติที่ถูกต้องแก่ อสม. ญาติและผุ้ดูแล เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อป้องกันและชะลอความเสี่ยงในการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
  2. 2.ประเมินสมองเสื่อมกลุ่มผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม. เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อม และกลไลการเกิดโรค รวมทั้งรู้จักวิธีปฏิบัติตน เพื่อป้องกันเกิดโรคสมองเสื้อม 2.สามารถร่วมตัวกันสร้างเครือข่ายหรือชมรมที่เข้มแข็งด้วยตนเองต่อไปเพื่อดูแลชุมชนโดยชุมชน 3.ลดภาวะของญาติและผุ้ดูแลผู้สูงอายุ หรือครอบครัว ในการดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรค สมองเสื่อม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 30 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อาสาสมัครสาธารณสุข/ญาตได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคสมองเสื่อม และกลไกการเกิดโรค รวมทั้งรู้จักวิธีการปฏิบัติเพื่อป้องการเกิดโรคสมองเสื่อม จำนวน 70 คน จากเป้าหมายทั้งหมด 70 คน คิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เครือข่ายชุมชน 70 คน ในการดูแลผู้สูงอายุเพื่อชะลอสมองเสื่อม จำนวน 70 คน ทุกคนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคสมองเสื่อม และกลไกการเกิดโรค รวมทั้งรู้จักวิธีปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม

 

70 0

2. 2.ประเมินสมองเสื่อมกลุ่มผู้สูงอายุ

วันที่ 3 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อสม. และญาติมีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันและชะลอความเสี่ยงในการเกิดโรงสมองเสื่อม จำนวน 628 คน จากทั้งหมด 660 คน คิดเป็นร้อยละ 95.15

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม.และผู้ดูแล มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุเพื่อป้องกันและชะลอความเสี่ยงในการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ และ อสม.ได้คัดกรองภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ อสม. ญาติเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมและกลไก การเกิดโรค รวมทั้งรู้จักวิธีปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด : ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจและวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับสมองเสื้่อม ร้อยละ 80
70.00 70.00

ร้อยละ 100

2 2.เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุและสร้างเครือข่ายหรือชมรมที่เข้มแข็งด้วยตนเองต่อไปได้
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เครือข่ายชุมชนสามารถดูแลชุมชนของตนเองได้ยั่งยืน
70.00 70.00

ร้อยละ 100

3 3.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างทัศนคติที่ถูกต้องแก่ อสม. ญาติและผุ้ดูแล เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อป้องกันและชะลอความเสี่ยงในการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : อสม. สามารถดูแลและนำญาติในการดูแลและพักฟื่นให้แก่ผู้สูงอายุ เพื่อลดความเสี่อมในการเกิดโรคสมองเสื่อมและผู้สูงอายุไม่เป็นโรคสมองเสื่อมมากกว่าร้อยละ 95
620.00

ร้อยละ 95.16

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ อสม. ญาติเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมและกลไก การเกิดโรค รวมทั้งรู้จักวิธีปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม (2) 2.เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุและสร้างเครือข่ายหรือชมรมที่เข้มแข็งด้วยตนเองต่อไปได้ (3) 3.เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างทัศนคติที่ถูกต้องแก่ อสม. ญาติและผุ้ดูแล เกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ เพื่อป้องกันและชะลอความเสี่ยงในการเกิดโรคสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (2) 2.ประเมินสมองเสื่อมกลุ่มผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพสมองเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อมและความจำบกพร่อง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1497-2-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวรรณดี สุขมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด