กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
รหัสโครงการ 61-L4153-1-05
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลรามัน
วันที่อนุมัติ 30 มีนาคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 12 กรกฎาคม 2561 - 12 กรกฎาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 10 สิงหาคม 2561
งบประมาณ 15,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวการีหม๊ะ ดือราแม
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.476,101.413place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 12 ก.ค. 2561 12 ก.ค. 2561 15,300.00
รวมงบประมาณ 15,300.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 90 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
3.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

วัยเด็กเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโตมีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านอารมณ์และการอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข อาหารเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้วัยเด็กได้รับการพัฒนาที่ดีมีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้งการออกกำลังกาย และอารมณ์ เพื่อให้นักเรียนซึ่งอยู่ในวัยที่กำลังเจริญเติบโตได้มีความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่าในการดูแลสุขภาพของตนเองที่ถูกต้องและเหมาะสม กับวัย นำไปปฏิบัติได้เองในชีวิตประจำวันและเป็นแบบอย่างให้กับคนในครอบครัวและชุมชน ในโอกาสต่อไปได้
จากผลการปฏิบัติงานภาวะโภชนาการ กลุ่มเป้าหมายเด็กวัยเรียนอายุ ๖-๑๔ ปี ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา พบว่าปี 2558 และ 2559 เด็กดีสมส่วน คิดเป็นร้อยละ 70.14 และ 69.86สำหรับผลการดำเนินงาน ในปี 2560 ซึ่งตรงกับภาคเรียนที่ 1/2560 ไตรมาสที่ 1 (พค.-กค. 60) สูงดีสมส่วน คิดเป็นร้อยละ 51.74 (ข้อมูลรายงานจาก HDC ณ วันที่ 30 กรกฎาคม 2560) จะเห็นได้ว่าการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในกลุ่มวัยเรียนอายุ ๖-๑๔ ปีไม่ได้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด พบว่ามีเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ผอม และ ค่อนข้างผอม คิดเป็นร้อยละ 18.04 เตี้ย และ ค่อนข้างผอม คิดเป็นร้อยละ 24.45 และอ้วน และ เริ่มอ้วน คิดเป็นร้อยละ 8.80 จะเห็นได้ว่าการดำเนินงานยังไม่บรรลุตามเป้าหมาย ยังพบมีเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมากซึ่งจำเป็นต้องมีการเฝ้าระวังและดูแลแก้ไขเด็กกลุ่มนี้ให้มีส่วนสูงระดับดี รูปร่างสมส่วน กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลรามันตระหนักและเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพของนักเรียน ซึ่งเป็นโรงเรียนในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลรามันให้ได้รับการปลูกฝังพฤติกรรมด้านสุขภาพที่ดีตั้งแต่วัยเด็ก อันนำไปสู่การพัฒนาครอบครัวและชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน กลุ่มงานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนโรงพยาบาลรามันจึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วนในโรงเรียนขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)

3.00 2.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15,300.00 0 0.00
12 ก.ค. 61 - 12 มิ.ย. 61 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แก่กลุ่มที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ 0 15,300.00 -
  1. ประชุมชี้แจงโครงการและการดำเนินงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ๒. ประชาสัมพันธ์โครงการในโรงเรียน ๓. ดำเนินงานตามโครงการ 3.1จัดประเภทกลุ่มเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ(ผอมและค่อนข้างผอม/เตี้ยและค่อนข้าง ผอม/อ้วนและค่อนข้างอ้วน) ๓.๒ชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง ๓.๓ประเมินภาวะโภชนาการ
    3.4อบรมให้ความรู้เรื่อง 3 อ.(อาหาร ออกกำลังกาย และอารมณ์) 3.5ติดตามชั่ง นน./วัด สส. เด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการ ทุก 3 เดือน ๔. รวบรวมข้อมูล ๕. สรุปผลการดำเนินงาน
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กวัยเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถลดปัจจัยเสี่ยง ต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ
  2. นักจัดการน้ำหนักมีความรู้และทราบเกี่ยวกับบทบาทของตนเอง และสามารถถ่ายทอดความรู้แก่นักเรียนได้
    1. ส่งเสริมให้เด็กมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลตนเองด้านภาวะโภชนาการ
    2. นักเรียนในโรงเรียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
    3. นักเรียนมีรูปร่างสูงดี สมส่วน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 มิ.ย. 2561 15:37 น.