กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพประชาชน ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพประชาชน ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพประชาชน ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพประชาชน ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพประชาชน ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 115,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศทั่วโลกได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การสื่อสารและการคมนาคม รวมถึงการใช้เทคโนโลยีมากขึ้น จากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ทำให้เกิดผลกระทบต่อวิถีชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะด้านสุขภาพ จากในอดีตปัญหาสุขภาพของประชาชนส่วนใหญ่เจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ แต่ในปัจจุบันและในอนาคตประชาชนเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มมากขึ้น องค์การอนามัยโลกถือว่ากลุ่มโรคติดต่อไม่เรื้อรังเป็นปัญหาใหญ่ที่กำลังทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สังเกตจากสถิติผู้เสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในปี พ.ศ.2552 พบว่า สาเหตุการเสียชีวิตของประชากรโลกทั้งหมดมีถึงร้อยละ 63 ที่เกิดจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และที่สำคัญกว่านั้นคือ ร้อยละ 80 เป็นประชากรของประเทศที่กำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทย สถิติ พ.ศ.2552 พบว่ามีประชากรเสียชีวิตจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังร้อยละ 73 ของการเสียชีวิต ของประชากรไทยทั้งหมด ในปี พ.ศ.2552 คิดเป็นมูลค่าความเสียหายทางเศรษฐกิจถึง 200,000 ล้านบาทต่อปี ซึ่งกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีอัตราผู้ป่วย และผู้เสียชีวิตสูงสุด 6 โรค ได้แก่ โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง โรคมะเร็ง และโรคความดันโลหิตสูง (อ้างอิง : www.thaihealth.or.th) โรคเบาหวานและความดัน เป็นภัยเงียบที่คุกคามชีวิตและบั่นทอนคุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่งเป็นสาเหตุของการป่วย พิการ และเสียชีวิต ตลอดจนเป็นภาระต่องบประมาณด้านการดูแลสุขภาพของประชาชนที่เพิ่มมากขึ้นในอนาคต สำหรับประเทศไทย พบว่าความชุกของเบาหวานมีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปี จากรายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ.2551 – 2552 พบความชุกเป็นร้อยละ 6.9 โดยคาดการณ์ว่า ปัจจุบันมีผู้เป็นเบาหวานอยู่ไม่ต่ำกว่า 3 ล้านคนทั่วประเทศ เบาหวานเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญหนึ่งในสิบอันดับแรก ในปี 2553 โดยพบอัตราการตายประมาณ 10.8 ต่อประชากรแสนคน และจากสถิติ 1 มกราคม 2555 – 31 ธันวาคม 2558 จังหวัดสงขลา พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 2,263 ราย คิดเป็นอัตราตาย ร้อยละ 4.49 ต่อประชากรพันราย (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา : ระบบคลังข้อมูลโรคติดต่อไม่เรื้อรัง, 2559) ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุข ฝ่ายบริการสาธารณสุข ส่วนบริการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้ให้ความสำคัญกับเฝ้าระวัง การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จึงได้จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพประชาชน ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองในการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหาภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมตัวแทนอสม และตัวแทนชุมชน
  2. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อหลีกเลี้ยงภาวะเสี่ยงต่อโณคเบาหวานและโณคความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมประชุมตัวแทนอสม และตัวแทนชุมชน

วันที่ 13 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ไม่ได้ทำกิจกรรมนี้จึงคืนเงินในโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อหลีกเลี้ยงภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

วันที่ 20 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อหลีกเลี้ยงภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อหลีกเลี้ยงภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง

 

700 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองในการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองในการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหาภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหาภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
0.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองในการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ได้รับการตรวจคัดกรอง ค้นหาภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมตัวแทนอสม และตัวแทนชุมชน (2) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพตนเองเพื่อหลีกเลี้ยงภาวะเสี่ยงต่อโณคเบาหวานและโณคความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพประชาชน ห่างไกลโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด