กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต


“ โครงการส่งเสริมลดขยะ ลดโรค ลดโลกร้อน ”

ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
น.สพัตมีซัมตาเย๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมลดขยะ ลดโรค ลดโลกร้อน

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2479-1-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมลดขยะ ลดโรค ลดโลกร้อน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมลดขยะ ลดโรค ลดโลกร้อน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมลดขยะ ลดโรค ลดโลกร้อน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L2479-1-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันสถานการณ์ภาวะโลกร้อนส่งผลกระทบรุนแรงมากขึ้น จะเห็นได้จากอุณหภูมิที่สูงขึ้น        ภัยธรรมชาติที่รุนแรงมากขึ้นและยังเป็นสาเหตุให้เชื้อโรคต่างๆมีการพัฒนาตัวเองเป็นเหตุให้เกิดโรคระบาดที่รุนแรง โดยถุงพลาสติกมีผลทำให้เกิดภาวะโลกร้อน ซึ่งถุงพลาสติก ๑ ใบ ต้องใช้เวลาย่อยสลายถึง ๔๕๐ ปี หากนำไปเผาจะทำให้เกิดสารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งเกิดมลภาวะทำให้โลกร้อนได้     จากการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตียได้ให้บริการแก่ผู้ป่วย พบว่าผู้ป่วยที่มารับยาจะได้รับถุงหูหิ้วพลาสติกอย่างน้อยคนละ ๑ ใบ ในหนึ่งปีจะมีผู้มารับบริการเฉลี่ยประมาณ ๑๓,๒๐๐ ครั้ง เท่ากับ        ปีหนึ่งๆเราเพิ่มขยะพลาสติกให้กับโลกประมาณ ๑๓,๒๐๐ ชิ้น โดยเฉพาะผู้ป่วยเรื้อรังและหญิงตั้งครรภ์ต้องมารับยากับรพ.สต.ซึ่งมีอยู่ประมาณ ๓๐๐ ราย จำเป็นต้องมารับยาเป็นประจำทุกเดือนและจะต้องนำถุงยากลับบ้านอย่างน้อยคนละ ๑ ใบทุกเดือน ถุงพลาสติกเหล่านั้นจะกลายเป็นขยะอยู่ที่บ้านไม่ได้นำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งขยะนี้จะเป็นต้นเหตุของการเพาะพันธุ์เชื้อโรคทำให้คนเจ็บป่วยเกิดโรคอันตรายต่างๆได้ในหลายระบบ     จากปัญหาดังกล่าวทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไอสะเตียได้ตระหนักถึงความสำคัญของอนามัยสิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อสภาวะสุขภาพทางกาย จิตใจและสังคมของประชาชนที่มารับบริการรวมถึงเจ้าหน้าที่ ซึ่งมองว่าหากมีการลดใช้ถุงพลาสติกใส่ยาให้กับผู้ป่วยจะช่วยลดปัญหาขยะนำไปสู่ภาวะโลกร้อน อีกทั้งยังช่วย        ลดต้นเหตุของการเพาะพันธุ์เชื้อโรคเพื่อประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น รวมถึงลดงบประมาณที่จะนำไปจัดซื้อถุงพลาสติกอีกด้วย จึงได้มีการดำเนินการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับผู้มารับบริการและชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติกใส่ยา
  2. เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคที่เกิดจากขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเจ้าหน้าที่ รพ.สต.อสม.
  2. เขียนโครงการ/เสนอโครงการ/ ขออนุมัติโครงการ
  3. ประชาสัมพันธ์ผู้ที่เกี่ยวข้องและกลุ่ม เป้าหมายให้รับทราบ
  4. ประสานทีมงานที่ให้บริการเมื่อจ่ายยาไม่ต้องใส่ถุงหูหิ้วพลาสติกให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและหญิงตั้งครรภ์
  5. อบรมให้ความรู้เรื่องขยะในผู้ป่วยโรคเรื้อรังและหญิงตั้งครรภ์
  6. รณรงค์ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและหญิงตั้งครรภ์ใช้กระเป๋าผ้าทุกครั้งที่มารับยา
  7. ติดตามและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. จำนวนขยะประเภทถุงพลาสติกที่มาจากรพ.สต.ลดลง ๒. จำนวนการเกิดโรคที่เกิดขึ้นจากขยะลดลง ๓. เจ้าหน้าที่และผู้มารับบริการมีความตระหนักในการรักษาสิ่งแวดล้อม ๔. สร้างภาพลักษณ์ที่ดีด้านสิ่งแวดล้อม ๕. ประหยัดงบประมาณในการซื้อถุงพลาสติกใส่ยากลับบ้านให้กับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน ไอสะเตีย ๖. เป็นส่วนหนึ่งในการลดภาวะโลกร้อนและรณรงค์สร้างจิตสำนึกของประชาชนในการรักษาสิ่งแวดล้อม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเจ้าหน้าที่ รพ.สต.อสม.

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมวางแผนการการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ข้อมูล ปัยหาที่จะแก้ปัญหา เพื่อเสนอโครงการ

 

5 0

2. เขียนโครงการ/เสนอโครงการ/ ขออนุมัติโครงการ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2561

กิจกรรมที่ทำ

เขียนโครงการ ส่งโครงการ  ไปที่กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บูกิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต.บูกิต ได้อนุมัติโครงการ ตั้งแต่วันที่  8 มิถถุนายน 2561

 

5 0

3. ประชาสัมพันธ์ผู้ที่เกี่ยวข้องและกลุ่ม เป้าหมายให้รับทราบ

วันที่ 1 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ได้ประชาสัมพันธ์ติดไวนิล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้รับทราบ ได้ข้อมูล

 

90 0

4. อบรมให้ความรู้เรื่องขยะในผู้ป่วยโรคเรื้อรังและหญิงตั้งครรภ์

วันที่ 28 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรุ้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

หญิงตั้งครรภ์ และผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับความรู้  ผ่านการอบรม

 

90 0

5. รณรงค์ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและหญิงตั้งครรภ์ใช้กระเป๋าผ้าทุกครั้งที่มารับยา

วันที่ 28 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชน ใช้ถุงผ้าในการมารับยา

 

90 0

6. ประสานทีมงานที่ให้บริการเมื่อจ่ายยาไม่ต้องใส่ถุงหูหิ้วพลาสติกให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและหญิงตั้งครรภ์

วันที่ 28 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประสานทีมงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ทีมงานรับทราบและปฎิบัติ

 

5 0

7. ติดตามและประเมินผล

วันที่ 30 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตาม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนใช้ถุงผ้า

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติกใส่ยา
ตัวชี้วัด :
10.00

 

2 เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคที่เกิดจากขยะ
ตัวชี้วัด :
10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณการใช้ถุงพลาสติกใส่ยา (2) เพื่อลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคที่เกิดจากขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเจ้าหน้าที่ รพ.สต.อสม. (2) เขียนโครงการ/เสนอโครงการ/            ขออนุมัติโครงการ (3) ประชาสัมพันธ์ผู้ที่เกี่ยวข้องและกลุ่ม เป้าหมายให้รับทราบ (4) ประสานทีมงานที่ให้บริการเมื่อจ่ายยาไม่ต้องใส่ถุงหูหิ้วพลาสติกให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและหญิงตั้งครรภ์ (5) อบรมให้ความรู้เรื่องขยะในผู้ป่วยโรคเรื้อรังและหญิงตั้งครรภ์ (6) รณรงค์ให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและหญิงตั้งครรภ์ใช้กระเป๋าผ้าทุกครั้งที่มารับยา (7) ติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมลดขยะ ลดโรค ลดโลกร้อน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L2479-1-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( น.สพัตมีซัมตาเย๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด