กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคอกช้าง


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพดำเนินงานของกองทุน ”

อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางเบญจมาศ ศิลาพักตร์

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพดำเนินงานของกองทุน

ที่อยู่ อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8277-4-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพดำเนินงานของกองทุน จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคอกช้าง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพดำเนินงานของกองทุน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพดำเนินงานของกองทุน " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8277-4-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคอกช้าง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลคอกช้าง ได้ดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2554 ในการดำเนินกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพตาม พรบ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 ตาม“มาตรา 47 เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการสนับสนุนและประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรดังกล่าวเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน” โดยได้รับการจัดสรรเงินสนับสนุนจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สปสช. 45 บาท : ประชากร 1 คน และเทศบาลตำบลคอกช้างจะต้องสมทบให้กองทุนฯ อีกไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของเงินจัดสรรจาก สปสช.เงินกองทุนฯ สามารถใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติมี 5 ประเภท ดังนี้ 1) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ เน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลเชิงรุก 2) เพื่อสนับสนุนให้องค์กรประชาชน หรือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ ดำเนินงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค 3) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุหรือคนพิการในชุมชน หรือศูนย์ชื่ออื่น เป็นเงินไม่น้อยกว่าร้อยละ 15 ของรายรับของกองทุนฯในแต่ละปีงบประมาณ 4) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 15 ของรายรับของกองทุนฯในแต่ละปีงบประมาณ และ 5) กรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ซึ่งการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคอกช้าง ถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ที่มุ่งหวังในการตอบสนองความต้องการในด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ จากการดำเนินงานมาแล้ว 2 ไตรมาส (เดือนตุลาคม 2560 – เดือนมีนาคม 2561)เทศบาลตำบลคอกช้าง มี ชุมชนทั้งหมด จำนวน 2 ชุมชน มีกลุ่มองค์กรและชุมชนเสนอโครงการ ทั้งหมดจำนวน 9 โครงการ อาจเนื่องจากชุมชนยังขาดทักษะการดำเนินงานด้านการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการงบประมาณของกองทุนฯ เป็นไปตามเจตนารมณ์ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพในการดูแลสุขภาพประชาชนให้ครบทุกองค์รวม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้หน่วยบริการ หน่วยงานด้านสาธารณสุขหน่วยงานอื่น และองค์กรประชาชนมีประสบการณ์ในการวางแผนด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
  2. เพื่อให้หน่วยบริการ หน่วยงานด้านสาธารณสุข หน่วยงานอื่น และ องค์กรประชาชน มีความรู้และทักษะพัฒนาศักยภาพแก้ปัญหาสุขภาพด้านป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพและดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ
  2. ฝึกปฏิบัติเขียนโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หน่วยบริการหน่วยงานด้านสาธารณสุขหน่วยงานอื่น และองค์กรประชาชนมีประสบการณ์ในการวางแผนด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
  2. หน่วยบริการหน่วยงานด้านสาธารณสุข หน่วยงานอื่น และ องค์กรประชาชนมีองค์ความรู้และทักษะในด้านพัฒนาศักยภาพการป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ และการดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ

วันที่ 24 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่   - ความเป็นมากองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือที่   - บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการกองทุนฯ   - ขอบเขตอำนาจหน้าที่ของกองทุนฯ   - ขั้นตอนการเสนอโครงการ   - ขั้นตอนการเบิก จ่ายเงิน และรายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ องค์ประกอบการเขียนโครงการและดำเนินงานป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้ารับการฝึกอบรม จำนวน 30 คน ทุกคนมีความเข้าใจในการเขียนโครงการร้อยละ 80

 

30 0

2. ฝึกปฏิบัติเขียนโครงการ

วันที่ 24 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

การฝึกปฏิบัติเขียนโครงการ โดยแบ่งได้ทั้งหมด 6 กลุ่ม มี กล่มอาชีพ/กลุ่ม อสม./กลุ่มสภ.แม่หวาด/กลุ่มโรงเรียน/กลุ่มชมรมแอโรบิค/กลุ่มกู้ชีพกู้ภัยคอกช้าง/กลุ่มสภาเด็กและเยาวชน   - ฝึกปฏิบัติการเขียนโครงการตามองค์ประกอบต่าง   - นำเสนอโครงการฯ
  - สรุปผลการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการแบ่งกลุ่มทั้งหมด 6 กลุ่ม ทุกกลุ่มสามารถเขียนโครงการฯ และนำเสนอโครงการได้ ร้อยละ 80

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หน่วยบริการ หน่วยงานด้านสาธารณสุขหน่วยงานอื่น และองค์กรประชาชนมีประสบการณ์ในการวางแผนด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : หน่วยที่ขอรับงบประมาณมีความเข้าใจบทบาทหน้าที่ของกองทุน ร้อยละ 80
0.00 80.00

 

2 เพื่อให้หน่วยบริการ หน่วยงานด้านสาธารณสุข หน่วยงานอื่น และ องค์กรประชาชน มีความรู้และทักษะพัฒนาศักยภาพแก้ปัญหาสุขภาพด้านป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพและดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพในพื้นที่
ตัวชี้วัด : หน่วยที่ขอรับงบประมาณมีความรู้และมีทักษะในการเขียนโครงการขอรับงบประมาณของกองทุนฯ ร้อยละ 80
0.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หน่วยบริการ  หน่วยงานด้านสาธารณสุขหน่วยงานอื่น และองค์กรประชาชนมีประสบการณ์ในการวางแผนด้านสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (2) เพื่อให้หน่วยบริการ  หน่วยงานด้านสาธารณสุข หน่วยงานอื่น และ องค์กรประชาชน  มีความรู้และทักษะพัฒนาศักยภาพแก้ปัญหาสุขภาพด้านป้องกันโรคและส่งเสริมสุขภาพและดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ (2) ฝึกปฏิบัติเขียนโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาศักยภาพดำเนินงานของกองทุน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8277-4-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเบญจมาศ ศิลาพักตร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด