โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการ/ผู้แทน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู
กรกฎาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560
ที่อยู่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 001 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2560 ถึง 15 กรกฎาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2560 - 15 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพสังคมไทยในปัจจุบันจะมีผู้สูงอายุและมีผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวนเพิ่มขึ้น ส่วนผู้ที่ไม่ได้รับประทานยามีโอกาสเป็นเส้นเลือด ในสมองแตกตีบเพิ่มมากขึ้น บางรายลืมรับประทานยา บางรายเป็น
โรค แล้ว ไม่ได้ไปพบแพทย์ เมื่อเป็นโรคเส้นเลือดในสมองแตกทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ กลายเป็นผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ผู้ป่วยติดเตียง ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวลำบากช่วยเหลือตัวเองได้น้อยจำเป็น
ต้องมีคนดูแล การดูแลผู้ป่วยติดเตียงต้องเป็นคนที่มีความรู้ ความสามารถพร้อมทั้งต้องมีอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่สะอาด สะดวก ปลอดภัยต่อผู้ป่วย ซึ่งผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น บางรายอาจมีแผลกดทับร่วมด้วย บางรายต้องให้อาหารทางสายยาง เป้าหมายสูงสุดของการดูแลผู้ป่วยคือ ผู้ป่วยต้องมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี จึงจำเป็นอย่างยิ่งของผู้ที่ดูแลต้องมีความรู้ มีทักษะการดูแลผู้ป่วย โดยการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริง ได้ให้การฟื้นฟูที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยจะสามารถใช้ชีวิตประจำวันและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข และการเสียชีวิตที่มีคุณค่าที่สุดกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายที่จะให้ประชาชนเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุขที่สะดวกได้รับบริการที่ดี หากเป็นผู้ป่วยผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้พิการต้องได้รับกาบริการที่ดีเช่นเดียวกับที่โรงพยาบาล หากไม่จำเป็นก็ไม่ต้องมารับบริการโรงพยาบาล เพราะเป็นเรื่องที่ลำบากแลเสียค่า
ใช้จ่ายสูง จึงได้จัดให้มีระบบการดูแลผู้ป่วยติดตียง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ผู้พิการ การดูแลผู้ป่วยติดเตียงนับเป็นสิ่งที่ทำให้ลำบากในการดูแล จำเป็นต้องให้การดูแลเอาใจใส่จากผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง มีหลักการการดูแลผู้ป่วยติดเตียงหรือพิการ ดังนี้ 1) ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น สังเกตได้จากผู้ป่วย ไม่มีกลิ่นปัสสาวะ ขาหนีบไม่แดง 2) ผู้ป่วยไปรักษาที่โรงพยาบาลน้อยลง เพราะได้รับการดูแลอย่างดีจากผู้ดูแล 3) ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความทุกข์น้อยลง เพราะส่วนใหญ่มีความจำเป็นด้านเศรษฐกิจต้องมีเวลาไปทำงานหาเงินเลี้ยงชีพ ที่สำคัญโรงพยาบาลทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง สนับสนุนการทำงานด้วยการให้คำปรึกษา ดังนั้นงานแพทย์แผนไทย ฝ่ายเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ได้เล็งเห็นความสำคัญของผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการ จึงจัดทำโครงการการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงมีความรู้ ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยที่ถูกต้องและผู้ป่วยสามารถทำได้เองได้อย่างเหมาะสม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ ความสามารถในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการและผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
- ๒.เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถนำความรู้ที่ได้รับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการ สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยพิการได้อย่างถูกต้อง ๒.ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการ สามารถนำความความรู้ที่ได้รับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน ซึ่งได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
2.จากการประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับการอบรมก่อนการอบรม คิดเป็น 60% และหลังการอบรมคิดเป็น 80%
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ ความสามารถในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการและผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
2
๒.เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถนำความรู้ที่ได้รับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ ความสามารถในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการและผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง (2) ๒.เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถนำความรู้ที่ได้รับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( ผู้อำนวยการ/ผู้แทน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560 ”
ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
ผู้อำนวยการ/ผู้แทน
กรกฎาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 001 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กรกฎาคม 2560 ถึง 15 กรกฎาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะลุรู อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 กรกฎาคม 2560 - 15 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สภาพสังคมไทยในปัจจุบันจะมีผู้สูงอายุและมีผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวนเพิ่มขึ้น ส่วนผู้ที่ไม่ได้รับประทานยามีโอกาสเป็นเส้นเลือด ในสมองแตกตีบเพิ่มมากขึ้น บางรายลืมรับประทานยา บางรายเป็น โรค แล้ว ไม่ได้ไปพบแพทย์ เมื่อเป็นโรคเส้นเลือดในสมองแตกทำให้ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ กลายเป็นผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ผู้ป่วยติดเตียง ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวลำบากช่วยเหลือตัวเองได้น้อยจำเป็น ต้องมีคนดูแล การดูแลผู้ป่วยติดเตียงต้องเป็นคนที่มีความรู้ ความสามารถพร้อมทั้งต้องมีอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่สะอาด สะดวก ปลอดภัยต่อผู้ป่วย ซึ่งผู้ป่วยมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น บางรายอาจมีแผลกดทับร่วมด้วย บางรายต้องให้อาหารทางสายยาง เป้าหมายสูงสุดของการดูแลผู้ป่วยคือ ผู้ป่วยต้องมีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี จึงจำเป็นอย่างยิ่งของผู้ที่ดูแลต้องมีความรู้ มีทักษะการดูแลผู้ป่วย โดยการเรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจริง ได้ให้การฟื้นฟูที่ถูกต้องอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยจะสามารถใช้ชีวิตประจำวันและอยู่ร่วมกับบุคคลอื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข และการเสียชีวิตที่มีคุณค่าที่สุดกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายที่จะให้ประชาชนเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุขที่สะดวกได้รับบริการที่ดี หากเป็นผู้ป่วยผู้สูงอายุ ผู้ป่วยติดเตียงหรือผู้พิการต้องได้รับกาบริการที่ดีเช่นเดียวกับที่โรงพยาบาล หากไม่จำเป็นก็ไม่ต้องมารับบริการโรงพยาบาล เพราะเป็นเรื่องที่ลำบากแลเสียค่า ใช้จ่ายสูง จึงได้จัดให้มีระบบการดูแลผู้ป่วยติดตียง ผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ผู้พิการ การดูแลผู้ป่วยติดเตียงนับเป็นสิ่งที่ทำให้ลำบากในการดูแล จำเป็นต้องให้การดูแลเอาใจใส่จากผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง มีหลักการการดูแลผู้ป่วยติดเตียงหรือพิการ ดังนี้ 1) ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น สังเกตได้จากผู้ป่วย ไม่มีกลิ่นปัสสาวะ ขาหนีบไม่แดง 2) ผู้ป่วยไปรักษาที่โรงพยาบาลน้อยลง เพราะได้รับการดูแลอย่างดีจากผู้ดูแล 3) ผู้ดูแลผู้ป่วยมีความทุกข์น้อยลง เพราะส่วนใหญ่มีความจำเป็นด้านเศรษฐกิจต้องมีเวลาไปทำงานหาเงินเลี้ยงชีพ ที่สำคัญโรงพยาบาลทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยง สนับสนุนการทำงานด้วยการให้คำปรึกษา ดังนั้นงานแพทย์แผนไทย ฝ่ายเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชน โรงพยาบาลสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส ได้เล็งเห็นความสำคัญของผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการ จึงจัดทำโครงการการเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงมีความรู้ ความสามารถในการดูแลผู้ป่วยที่ถูกต้องและผู้ป่วยสามารถทำได้เองได้อย่างเหมาะสม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ ความสามารถในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการและผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง
- ๒.เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถนำความรู้ที่ได้รับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑.ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการ สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง ผู้ป่วยพิการได้อย่างถูกต้อง ๒.ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการ สามารถนำความความรู้ที่ได้รับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน ซึ่งได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ 2.จากการประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับการอบรมก่อนการอบรม คิดเป็น 60% และหลังการอบรมคิดเป็น 80%
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ ความสามารถในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการและผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | ๒.เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถนำความรู้ที่ได้รับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นได้ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้ผู้ดูแลมีความรู้ ความสามารถในการดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยติดเตียง ผู้พิการและผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้อง (2) ๒.เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถนำความรู้ที่ได้รับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและสามารถเผยแพร่ความรู้แก่ผู้อื่นได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้พิการตามศาสตร์แพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( ผู้อำนวยการ/ผู้แทน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......