กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนบ้านวังเนียง ปี 2561 ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายนิรันทร์ อินทร์นาค

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนบ้านวังเนียง ปี 2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-02-031 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนบ้านวังเนียง ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนบ้านวังเนียง ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนบ้านวังเนียง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2561-L7572-02-031 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,125.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรคหัวใจและหลอดเลือด อันเกี่ยวเนื่องมาจากพฤติกรรมและวิถีชีวิต มีแนวโน้มสูง ทั้งๆที่เป็นโรคที่สามารถลดอุบัติการณ์ได้หากประชาชนจะหันมาดูแลตนเองด้วยการมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง มีการรับประทานอาหารที่เหมาะสม สนใจการควบคุมน้ำหนัก การออกกำลังกาย และควบคุมความเครียด ซึ่งทั้งนี้จากการตรวจคัดกรองสุขภาพ ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขในประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นการค้นหาภาวะเสี่ยง พบว่า ชุมชนวัดประดู่หอม มีแนวโน้มที่พบผู้ที่ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสูงขึ้นทุกปีอีกทั้งความสามารถในการควบคุมโรคของประชาชนในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ก็ยังมีผลดีขึ้นอย่างไม่น่าพอใจประชาชนยังต้องทนกับทุกข์ที่เกิดขึ้น ขาดแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพที่เป็นมายาวนาน ขาดความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการควบคุมตนเอง นอกจากนี้ยังพบว่าคนในชุมชนส่วนมากบริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอจึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกระดับ รวมทั้งตัวผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงอย่างจริงจัง เพื่อให้ชาวชุมชนมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักสดและผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม )และลดอาหารไขมันซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดลง จากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มอายุ 35ปีขึ้นไป ปี ของชุมชนบ้านวังเนียง ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง ได้คัดกรองความดันและเบาหวาน จำนวน 187 คน ผลการตรวจคัดกรองโรค พบกลุ่มที่มีระดับความดันโลหิต 120/80 – 139/89 มิลลิเมตรปรอท (เสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและหัวใจหลอดเลือด) จำนวน 99 คนพบกลุ่มที่มีระดับความดันโลหิต 140/90 มิลลิลิตรปรอท ขึ้นไป (สงสัยเป็นโรค) จำนวน 13 คน และกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 67 คน จากการคัดกรองจะเห็นว่าสมาชิกในชุมชนที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป เป็นกลุ่มที่ควรมีการเฝ้าระวังสุขภาพ และต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยเร่งด่วน คณะกรรมการจึงลงความเห็นให้จัดทำโครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ และการบริโภคอาหารลดหวานมันเค็ม และการพัฒนาสุขภาพจิตของคนในชุมชนขึ้นเพื่อนำร่องการพัฒนาพฤติกรรมของสมาชิกในชุมชน ให้สามารถดูแลคนในชุมชนและลดปัญหาการเป็นโรคจากพฤติกรรมที่สามารถป้องกันต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เป็นชุมชนต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผักผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมที่ดีขึ้นจากเดิม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเตรียมความพร้อม
  2. จัดทำเวทีประชาคม
  3. พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน
  4. อบรมให้ความรู้
  5. ติดตามดูแลกลุ่มเสี่ยง
  6. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  7. เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่เหมาะสมอย่างน้อย 3 พฤติกรรม คือ กินผัก ผลไม้สด ปลอดสารพิษทุกวันอย่างน้อยวันละครึ่งกิโลกรัมต่อวันต่อคน ลดการกินอาหารที่มีไขมันสูง และออกกำลังกายตามวัยที่เหมาะสมอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน
  2. มีกลุ่มออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของชุมชน
  3. เกิดชุมชนต้นแบบที่เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเตรียมความพร้อม

วันที่ 12 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจง อสม.ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนดำเนินงานและฟื้นฟูความรู้เรื่องการติดตามดูแลสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดกรอบการดำเนินงานตามแผนและฟื้นฟูความรู้เรื่องการติดตามดูแลสุขภาพ

 

15 0

2. จัดทำเวทีประชาคม

วันที่ 19 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำเวทีประชาคม และแต่งตั้งคณะทำงานระดับหมู่บ้านขับเคลื่อนการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แต่งตั้งคณะทำงานระดับหมู่บ้านขับเคลื่อนการดำเนินงาน

 

50 0

3. พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน

วันที่ 31 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ด้านการออกกำลังกายและด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ด้านการออกกำลังกายและด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

20 0

4. อบรมให้ความรู้

วันที่ 1 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่ กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้แก่ กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ

 

30 0

5. ติดตามดูแลกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 1 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามดูแลกลุ่มเสี่ยงที่บ้านตามพื้นที่รับผิดชอบของ อสม.อย่างน้อยเดือนละ 1 – 2 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลที่บ้านตามพื้นที่รับผิดชอบของ อสม.อย่างน้อยเดือนละ 1 – 2 ครั้ง

 

30 0

6. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วันที่ 15 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร ก่อนออกกำลังกาย) และตรวจสุขภาพประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกในชุมชนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (ความรู้เรื่องการออกกำลังกาย การบริโภคอาหาร ก่อนออกกำลังกาย) และตรวจสุขภาพประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

 

50 0

7. เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการฯ

วันที่ 15 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการฯ

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เป็นชุมชนต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผักผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด : ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมที่ดีขึ้นจากเดิม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของ กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการดูแลและมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 87
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30 37
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เป็นชุมชนต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผักผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมที่ดีขึ้นจากเดิม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเตรียมความพร้อม (2) จัดทำเวทีประชาคม (3) พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน (4) อบรมให้ความรู้ (5) ติดตามดูแลกลุ่มเสี่ยง (6) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (7) เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนบ้านวังเนียง ปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2561-L7572-02-031

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนิรันทร์ อินทร์นาค )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด