กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง


“ โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนวัดประดู่หอม ปี2561 ”

อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจิรภา หนูแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนวัดประดู่หอม ปี2561

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2651-L7572-02-032 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนวัดประดู่หอม ปี2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนวัดประดู่หอม ปี2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนวัดประดู่หอม ปี2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2651-L7572-02-032 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและไม่ติดต่อที่มีสาเหตุมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานโรคหัวใจและหลอดเลือด อันเกี่ยวเนื่องมาจากพฤติกรรมและวิถีชีวิต มีแนวโน้มสูง ทั้งๆที่เป็นโรคที่สามารถลดอุบัติการณ์ได้หากประชาชนจะหันมาดูแลตนเองด้วยการมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง มีการรับประทานอาหารที่เหมาะสม สนใจการควบคุมน้ำหนัก การออกกำลังกาย และควบคุมความเครียด ซึ่งทั้งนี้จากการตรวจคัดกรองสุขภาพ ตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุขในประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ซึ่งเป็นการค้นหาภาวะเสี่ยง พบว่า ชุมชนวัดประดู่หอม มีแนวโน้มที่พบผู้ที่ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสูงขึ้นทุกปีอีกทั้งความสามารถในการควบคุมโรคของประชาชนในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย ก็ยังมีผลดีขึ้นอย่างไม่น่าพอใจประชาชนยังต้องทนกับทุกข์ที่เกิดขึ้น ขาดแรงจูงใจในการดูแลสุขภาพที่เป็นมายาวนาน ขาดความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการควบคุมตนเอง นอกจากนี้ยังพบว่าคนในชุมชนส่วนมากบริโภคผักและผลไม้ไม่เพียงพอจึงจำเป็นต้องดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องทุกระดับ รวมทั้งตัวผู้มีพฤติกรรมเสี่ยงอย่างจริงจัง เพื่อให้ชาวชุมชนมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอ สัปดาห์ละอย่างน้อย 3 วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการรับประทานผักสดและผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป(ครึ่งกิโลกรัม )และลดอาหารไขมันซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดลง จากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มอายุ 35ปีขึ้นไป ปี ของชุมชนวัดประดู่หอม ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง ผลการตรวจคัดกรองโรค พบกลุ่มที่มีระดับความดันโลหิต 120/80 – 139/89 มิลลิเมตรปรอท (เสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและหัวใจหลอดเลือด) จำนวน 70 คนพบกลุ่มที่มีระดับความดันโลหิต 140/90 มิลลิลิตรปรอท ขึ้นไป (สงสัยเป็นโรค) จำนวน 70 คน และร้อยละ 50 ก็ป่วยทั้งเป็นโรคความดัน และโรคเบาหวานจึงจัดทำโครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนวัดประดู่หอม ปี 2561ขึ้น โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้วยกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เป็นชุมชนต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผักผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมที่ดีขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเตรียมความพร้อม
  2. จัดทำเวทีประชาคม
  3. พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ด้านการออกกำลังกายและด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ ( 1 วัน)
  4. ติดตามดูแลกลุ่มเสี่ยง
  5. จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  6. เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ
  7. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในชุมชนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่เหมาะสมอย่างน้อย 3 พฤติกรรม คือ กินผัก ผลไม้สด ปลอดสารพิษทุกวันอย่างน้อยวันละครึ่งกิโลกรัมต่อวันต่อคน ลดการกินอาหารที่มีไขมันสูง และออกกำลังกายตามวัยที่เหมาะสมอย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน
  2. มีกลุ่มออกกำลังกายเพื่อสุขภาพของชุมชน
  3. เกิดชุมชนต้นแบบที่เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ลดความเสี่ยงโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด มีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเตรียมความพร้อม

วันที่ 10 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  • รวบรวมกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรอง
  • จัดทำแผนงาน/โครงการเสนอขออนุมัติโครงการเพื่อดำเนินงานตามโครงการ
  • ประชุมชี้แจง อสม.ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนดำเนินงานและฟื้นฟูความรู้เรื่องการติดตามดูแลสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดกรอบการดำเนินงาน

 

20 0

2. จัดทำเวทีประชาคม

วันที่ 15 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำเวทีประชาคม และแต่งตั้งคณะทำงานระดับหมู่บ้านขับเคลื่อนการดำเนินงาน (ครึ่งวัน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แต่งตั้งคณะทำงานระดับหมู่บ้านขับเคลื่อนการดำเนินงาน

 

50 0

3. พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ด้านการออกกำลังกายและด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ ( 1 วัน)

วันที่ 29 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ด้านการออกกำลังกายและด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ ( 1 วัน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ด้านการออกกำลังกายและด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ

 

20 0

4. อบรมให้ความรู้

วันที่ 30 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้แก่ กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ
(ครึ่งวัน)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อบรมให้ความรู้แก่ กลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมโครงการ

 

30 0

5. ติดตามดูแลกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 1 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามดูแลกลุ่มเสี่ยงที่บ้านตามพื้นที่รับผิดชอบของ อสม.อย่างน้อยเดือนละ 1 – 2 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลที่บ้านตามพื้นที่รับผิดชอบของ อสม.อย่างน้อยเดือนละ 1 – 2 ครั้ง

 

30 0

6. เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 15 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตามเอกสารแนบ(ส่วนที่3)

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เป็นชุมชนต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผักผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัด : ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของ กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับการดูแลและมีพฤติกรรมที่ถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เป็นชุมชนต้นแบบที่ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย 3วันๆละอย่างน้อย 30 นาที ร่วมกับการกินผักผลไม้สดวันละอย่างน้อย 5ขีดขึ้นไป (ครึ่งกิโลกรัม) และลดอาหารไขมัน ซึ่งจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามดูแลและมีพฤติกรรมที่ดีขึ้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเตรียมความพร้อม (2) จัดทำเวทีประชาคม (3) พัฒนาศักยภาพคณะทำงาน ด้านการออกกำลังกายและด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ ( 1 วัน) (4) ติดตามดูแลกลุ่มเสี่ยง (5) จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (6) เวทีสรุปบทเรียนการดำเนินงานโครงการ (7) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคมะเร็ง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด ชุมชนวัดประดู่หอม ปี2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2651-L7572-02-032

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิรภา หนูแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด