กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคติดเชื้อพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละของการป้องกันและแก้ไขปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคติดเชื้อพิษสุนัขบ้า
0.00

 

2 2. เพื่อให้แกนนำชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข.ครู แกนนำนักเรียน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
ตัวชี้วัด : แกนนำชุมชนอาสาสมัครสาธารณสุข.ครู แกนนำนักเรียน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00

 

3 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยง
ตัวชี้วัด : 1. อัตราป่วยของประชาชนด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 2. อัตราการตายของประชาชนจากโรคพิษสุนัขบ้า 3. อัตราป่วยหรือตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยง 4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 350
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 350
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะโรคติดเชื้อพิษสุนัขบ้า (2) 2. เพื่อให้แกนนำชุมชน  อาสาสมัครสาธารณสุข.ครู แกนนำนักเรียน และประชาชนทั่วไป มีความรู้ในการป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า  (3) 3. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดโรคพิษสุนัขบ้าในสัตว์เลี้ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 การประชุมชี้แจงตัวแทนองค์กร เครือข่ายภาคประชาสังคม เจ้าหน้าที่สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา จำนวน 60 คน (สถานที่ห้องประชุมเทศบาลนครยะลา) (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้แก่    แกนนำชุมชน  อาสาสมัครสาธารณสุข ครู แกนนำนักเรียน ประชาชนทั่วไปที่สนใจ และเจ้าหน้าที่    ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 350 คน ระยะเวลา 1 วัน  (สถานที่ห้องประชุมของเอกชน) (3) กิจกรรมที่ 3 การอบรมให้ความรู้เรื่องโรคพิษ  สุนัขบ้า ให้แก่ ครู อาจารย์ และนักเรียน ของโรงเรียนในเขตเทศบาล จำนวน 10 โรงเรียนๆ ละ 100 คน รวมทั้งหมด 1,000 คน ระยะเวลาครึ่งวันบ่าย (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมรณรงค์และการประชาสัมพันธ์ (5) กิจกรรมที่ 5 จัดประชุมสรุปและประเมินผลการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า  เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 30 คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh