กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก


“ โครงการ โคกสักร่วมใจ ลดขยะ ลดโรค โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ”

ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน

ชื่อโครงการ โครงการ โคกสักร่วมใจ ลดขยะ ลดโรค โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3330-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ โคกสักร่วมใจ ลดขยะ ลดโรค โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ โคกสักร่วมใจ ลดขยะ ลดโรค โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ โคกสักร่วมใจ ลดขยะ ลดโรค โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสัก อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3330-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,790.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกและการเปลี่ยนแปลงของประเทศไทยทั้งทางด้านเศรษฐกิจ การแข่งขันทางการตลาด การคมนาคม รวมถึงความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่มากขึ้น ทำให้จำนวนประชากรในชุมชนเพิ่มขึ้น เกิดการขยายตัวอย่างรวดเร็วของชุมชน อัตราการบริโภคที่เพิ่มสูงขึ้น อัตราการใช้ที่ดินเพิ่มขึ้นเพื่อผลิตเครื่องอุปโภคบริโภค เป็นเหตุให้มีสิ่งเหลือใช้เป็นจำนวนมากขึ้น ก่อให้เกิดปัญหาของขยะมูลฝอย อันเป็นเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและมีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน ปัญหาการจัดการขยะเป็นวาระแห่งชาติ และเป็นปัญหาสำคัญอันดับที่หนึ่งของชุมชน หมู่ที่ 2 ตำบลโคกสัก จากการจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโดยชุมชนมีส่วนรวม พบว่าปัญหาการจัดการขยะเป็นปัญหาที่ชุมชนต้องการให้แก้ไขอย่างเร่งด่วน โดยอาศัยความร่วมมือ การเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชนในการดำเนินการจัดการขยะเพื่อให้ประชาชนเกิดการเรียนรู้และเกิดจิตสำนึกที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย และสร้างจิตสำนึกต่อความรับผิดชอบร่วมกันในแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเรื่อง ขยะมูลฝอยชุมชน โดยเริ่มจากการให้ประชาชนในชุมชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะอย่างเป็นระบบ เพื่อรองรับปัญหาขยะที่เพิ่มมากขึ้นทุกวัน นอกจากนี้ ประชาชนสามารถนำวัสดุที่ใช้แล้วนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งเป็นการประหยัดทรัพยากรและเงินงบประมาณแผ่นดินได้เป็นจำนวนมาก รวมทั้งปริมาณขยะก็จะลดจำนวนลงได้มาก ซึ่งจะส่งผลดีทั้งต่อสิ่งแวดล้อม ต่อประชากรและต่อประเทศชาติต่อไป ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน เห็นความสำคัญถึงปัญหาจึงได้จัดทำโครงการ โคกสักร่วมใจ ลดขยะ ลดโรค เพื่อสานต่อการเป็นหมู่บ้านต้นแบบนำร่องการจัดการขยะต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในครัวเรือนมีความรู้ มีความเข้าใจในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมการทำนวัตกรรมถุงคัดแยกขยะ และประดิษฐ์เศษวัสดุจากของที่ใช้แล้วและนำกลับมาใช้ใหม่
  2. รณรงค์การจัดการขยะ โดยการปั่นจักรยานเก็บขยะรอบหมู่บ้าน
  3. คณะกรรมการชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านและประเมินครัวเรือนในการคัดแยกขยะ
  4. ประชุมสรุปผลโครงการและคืนข้อมูลให้ประชาชน
  5. จัดเวทีประชาคม
  6. ประชุมคณะกรรมการชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน
  7. ประชุมให้ความรู้การคัดแยกขยะและสาธิตการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในครัวเรือนมีความรู้ มีความเข้าใจในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ และคัดแยกขยะในครัวเรือนก่อนทิ้ง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในครัวเรือนมีความรู้ มีความเข้าใจในการจัดการขยะอย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมการทำนวัตกรรมถุงคัดแยกขยะ และประดิษฐ์เศษวัสดุจากของที่ใช้แล้วและนำกลับมาใช้ใหม่    (2) รณรงค์การจัดการขยะ โดยการปั่นจักรยานเก็บขยะรอบหมู่บ้าน    (3) คณะกรรมการชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมบ้านและประเมินครัวเรือนในการคัดแยกขยะ  (4) ประชุมสรุปผลโครงการและคืนข้อมูลให้ประชาชน (5) จัดเวทีประชาคม (6) ประชุมคณะกรรมการชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน (7) ประชุมให้ความรู้การคัดแยกขยะและสาธิตการทำปุ๋ยหมักชีวภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ โคกสักร่วมใจ ลดขยะ ลดโรค โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3330-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลอน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด