กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ รณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอำภรณ์ หวันยาวา

ชื่อโครงการ รณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 13/60 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"รณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ



บทคัดย่อ

โครงการ " รณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 13/60 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,430.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกกาลังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยเนื่องจากสถานการณ์ของโรคพบแนวโน้มสูงขึ้น แม้จะมีการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปีงบประมาณ 2535 จนถึงปัจจุบัน
การป้องกันโรคไข้เลือดออกในทุกพื้นที่ก็คือการช่วยกันลดจำนวนยุงลายให้เหลือน้อยที่สุด โดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่มักอาศัยในภาชนะที่มีน้ำท่วมขัง และหากมีรายงานผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกให้ดำเนินการสอบสวนโรคและควบคุมโรคภายใน ๒๔ ชั่วโมง เพื่อไม่ให้โรคแพร่ระบาด และพ่นสารเคมีรอบบ้านผู้ป่วยรัศมีอย่างน้อย ๑๐๐ เมตร เพื่อตัดวงจรการแพร่ระบาดของโรค
กลุ่มอาสาพัฒนาสาธารณสุข หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาและสถานการณ์ที่เกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ตำบลคลองขุด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕60 ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เอกชน สถาบันต่างๆ โรงเรียน รวมทั้งประชาชนโดยทั่วไป ได้ทราบและเล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการลดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคเลือดออกในชุมชน ส่งผลให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลงร้อยละ ๒๐
  2. 2.เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์การจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย
  3. 3. เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ทุกองค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. อัตราป่วยและอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
    ๒. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ องค์กรชุมชน และประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือตำบลคลองขุด ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
    ๓. ค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (HI,CI) อยู่ในเกณฑ์ที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมกลุ่มอาสาพัฒนาสาธารณสุขหมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ

    วันที่ 3 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต ประชุมกลุ่มอาสาพัฒนาสาธารณสุขหมุ่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ จำนวน 30 คน ผลลัพธ์ เพื่อเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ และกำหนดวัน เวลาในการจัดกิจกรรมรณรงค์ - วันที่ 1 ชุมชนบ้านเหนือ หมู่ที่ 7 ตำบลคลองขุด (ซอยประชาสรรค์, ซอยชินวัฒน์, ซอยเยาวราช) วันที่ 3 มีนาคม 2560 - วันที่ 2 ชุมชนบ้านกลาง หมู่ที่ 7 ตำบลคลองขุด (ซอยทรายทอง, ซอยพัฒนาการศึกษา, ซอยน้องทราย) วันที่ 5 มีนาคม 2560 - วันที่ 3 ชุมชนบ้านใต้ หมู่ที่ 7 ตำบลคลองขุด (ซอยร่วมวารินทร์, ซอยรอยัลเกตเฮ้าส์, ซอยผลทวี) วันที่ 6 มีนาคม 2560

     

    30 30

    2. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้าน

    วันที่ 4 มีนาคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต อาสาพัฒนาสาธารณสุขหมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ จำนวน 30 คน
    จัดกิจกรรมรณรงค์ ในซอยประชาสรรค์ ซอยชินวัฒน์ ซอยเยาวราช จำนวน 245 ครัวเรือน

     

    30 30

    3. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้าน

    วันที่ 5 มีนาคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต อาสาพัฒนาสาธารณสุขหมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ จำนวน 30 คน
    จัดกิจกรรมรณรงค์ ในซอยทรายทอง ซอยพัฒนาการศึกษามูลนิธิ ซอยน้องทราย จำนวน 480 ครัวเรือน

     

    30 30

    4. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายและใส่ทรายทีมีฟอส สำรวจค่า HI,CI ในหมู่บ้าน

    วันที่ 6 มีนาคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต อาสาพัฒนาสาธารณสุขหมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ จำนวน 30 คน
    จัดกิจกรรมรณรงค์ ในซอยประชาสรรค์ ซอยชินวัฒน์ ซอยเยาวราช จำนวน 387 ครัวเรือน

     

    30 30

    5. จัดทำเอกสารสรุปโครงการ

    วันที่ 7 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผลผลิต อาสาพัฒนาสาธารณสุขหมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ จำนวน 30 คน
    ผลลัพธ์ ความครอบคลุมของการรณรงค์การจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย ตามเป้าหมายดังนี้
    -  ในโรงเรียน ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกโรงเรียนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ โดยแต่ละ โรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (CI=O)
    - ในชุมชน ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ โดยให้มี จำนวนบ้านที่พบลูกน้ายุงลายไม่เกินร้อยละ ๑๐ (ค่า HI ไม่เกิน ๑๐)

     

    0 30

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    โครงการรณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ ได้จัดกิจกรรมรณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายโดยการใส่ทรายทีมีฟอส และกำจัดภาชนะที่น้ำสามารถขังได้โดยการเก็บทิ้งในถังขยะ และสำรวจบ้านในชุมชนทั้งหมด 540 หลังคาเรือน ค่า HI ในชุมชน เท่ากับ 15.93 ส่วนค่า CI ในโรงเรียนพัฒนาการศึกษามูลนิธิ เท่ากับ 0 โดยได้จัดกิจกรรมรณรงค์ทั้งหมด จำนวน 3 วัน ในวันที่ 3, 5 และ 6 มีนาคม 2560

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลงร้อยละ ๒๐
    ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลงร้อยละ ๒๐

     

    2 2.เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์การจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย
    ตัวชี้วัด : -ในโรงเรียน ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกโรงเรียนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕ โดยแต่ละ โรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย (CI=O) - ในชุมชน ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ โดยให้มี จำนวนบ้านที่พบลูกน้ายุงลายไม่เกินร้อยละ ๑๐ (ค่า HI ไม่เกิน ๑๐)

     

    3 3. เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ทุกองค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
    ตัวชี้วัด : มีหน่วยงาน ประชาชนทั่วไปร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชากรทุกกลุ่มอายุลงร้อยละ ๒๐ (2) 2.เพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์การจัดลูกน้ำยุงลายในโรงเรียนและชุมชน และลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย (3) 3. เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกระดับ ทุกองค์กรชุมชน และประชาชนทั่วไป ตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    รณรงค์ต้านภัยโรคไข้เลือดออก หมู่ที่ 7 บ้านคลองขุดเหนือ จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 13/60

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวอำภรณ์ หวันยาวา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด