กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว


“ โครงการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปี 2561 ”

อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางธัชกร สุทธิดาจันทร์นักวิชาการสาธารณสุข

ชื่อโครงการ โครงการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปี 2561

ที่อยู่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 010 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปี 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบางแก้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกนับว่าเป็นปัญหาที่สำคัญและมีความรุนแรงมากขึ้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม และที่สำคัญคือในปัจจุบันไข้เลือดออกมีความเสี่ยงทุกกลุ่มอายุและในระดับพืันที่ก็นับว่าไข้เลือดออกเป็นปัญหาทางระบาดวิทยาที่พื้นที่ให้ความสำคัญ แต่ไข้เลือดออกก็เกิดการระบาดได้ทุกปีประกอบกับข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทบทวนสถานการณ์โรคในปี 2560 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 - 31 ตุลาคม 2560 พบว่า อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประเทศไทย 65.91 จำนวนป่วย 43,120 ราย อัตราป่วยตายร้อย 0.13 ระดับภาคใต้อัตราป่วย 118.18 จำนวนป่วย 10,931 ราย อัตราป่วยตายร้อย 0.23 ในเขต 12 อัตราป่วย 127.05 จำนวนป่วย 6,182 ราย อัตราป่วยตายร้อยละ 0.26 ในระดับจังหวัดพัทลุง อัตราป่วย 180.23 จำนวนป่วย 940 ราย ซึ่งอยู่ในลำดับที่ 4 ของประเทศ สำหรับของอำเภอบางแก้วอัตราป่วย 101.6 ซึ่งอยู่ในลำดับที่ 8 ของจังหวัดพัทลุงซึ่งในพื้นที่ของเขตเทศบาลตำบลบางแก้วตั้งแต่ปี 2559-2561 พบผู้ป่วย 5,8,1ราย ตามลำดับ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าสถานการณ์การระบาดของโรคไข้เลือดออกในภาพรวมของพื้นที่จึงมีความสำคัญและเสี่ยงต่อการระบาดของโรคไข้เลือดออกและเพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดของโรคไข้เลือดออกขึ้นจึงได้จัดทำโครงการ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้วปี 2561 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว
  2. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปี 2561

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2.ในโรงเรียน ลดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในทุกโรงเรียนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 โดยแต่ละโรงเรียไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงบาย(CI=O) 3.ในชุมชนลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โดยให้มีจำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกิดร้อยละ 10 (ค่า HI ไม่เกิน 10) 4.ภาคีเครือข่ายเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 5.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชนลดลงกว่าค่ามัธยฐาน 5ปีย้อนหลัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1.

วันที่ 1 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการจัดทำโครงการ 2.จัดทำคำสั่งพร้อมแต่งตั้งคณะทำงานโครงการ 3.เขียนโครงการเพื่อเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลบางแก้ว เพื่อขออนุมัติเงินสนับสนุนโครงการ 4.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเทศบาล วัด โรงเรียน ชุมชนเทศบาลตำบลบางแก้ว และอื่นๆร่วมกันวางแผนดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 2.ในโรงเรียน ลดแหล่งเพาะพันธ์ุยุงลายในทุกโรงเรียนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 โดยแต่ละโรงเรียนไม่พบภาชนะที่มีลูกน้ำยุงลาย 3.ในชุมชน ลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในทุกครัวเรือนให้ครอบคลุมไม่น้อยกว่าร้อยละ80 โดยให้มีจำนวนบ้านที่พบลูกน้ำยุงลายไม่เกินร้อยละ 10 4.ภาคีเครือข่ายเกิดความตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันและควบคุมโรคในชุมชน และให้ความร่วมมือสนับสนุนการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 5.อัตรป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของประชากรในชุมชนลดลงกว่าค่ามัธยฐใาน 5 ปี ย้อนหลัง

 

200 0

2. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

การจัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำประจำครอบครัวและอสม.และการตอบแบบสอบถาม กิจกรรมร่วมด้วยช่วยกัน เคาะประตูบ้าน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก
แหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำในชุมชน/โรงเรียน/สถานที่สาธารณะลดลง อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว (2) การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปี 2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก เขตเทศบาลตำบลบางแก้ว ปี 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 010

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางธัชกร สุทธิดาจันทร์นักวิชาการสาธารณสุข )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด