กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ส่งเสริมเชิงรุกเพื่อเด็กไทยพัฒนาการสมวัย
รหัสโครงการ 3/2561
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกยาง
วันที่อนุมัติ 14 มิถุนายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2561
งบประมาณ 29,600.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกยาง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลโคกยาง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.509,99.48place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ก.ค. 2561 28 ก.ย. 2561 1 ก.ค. 2561 28 ก.ย. 2561 29,600.00
รวมงบประมาณ 29,600.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 185 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนเด็ก อายุ 0-5 ปี ที่ประเมินแล้วมีภาวะพัฒนาการล่าช้า (คน)
30.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

พัฒนาการ หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงด้านวุฒิภาวะของอวัยวะระบบต่าง ๆ และตัวบุคคลทำให้เพิ่มความสามารถของบุคคลให้ทำหน้าที่ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ทำสิ่งที่ยากและซับซ้อนยิ่งขึ้นได้ ตลอดจนการเพิ่มทักษะใหม่และความสามารถในการปรับตัวในภาวะใหม่ของบุคคลนั้น ซึ่งพัฒนาการเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ 1. การเคลื่อนไหวกล้ามเนื้อมัดใหญ่ 2. การใช้มือและตา กล้ามเนื้อมัดเล็ก 3. การเข้าใจ การใช้ภาษา 4. การช่วยเหลือตัวเองและสังคม กระทรวงสาธารณสุขค้นพบปัญหาปี 2560 เด็กปฐมวัยไทยมิีวิกฤตทางด้านพัฒนาการ โดยมีพัฒนาการล่าช้าต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานถึง 30% และอาจเป็นสาเหตหนึ่่งของการศึกษาของเด็กไทยที่กำลังเป็นปัญหาใหญ่ในขณะนี้ที่ประมาณ 10-15% ของเด็กไทยชั้น ป.3 และ ป.6 "อ่านไม่ออก เขียนไม่่ได้ คิดไม่เป็น" ทำให้ประเทศไทยสูญเสียโอกาสในการพัฒนาเมืื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านในการเปิดประเทศรับการเป็น AEC ข้อมูลการสำรวจพัฒนาการเด็กของกรมอนามัยเมืือปี 2557 พบเด็กแรกเกิด - 2 ปี มีพัฒนาการไม่สมวัยร้อยละ 22 ส่วนเด็กอายุ 3-5 ปี มีพัฒนาการไม่สมวัยสูงถึงร้อยละ 34 หรือ 1 ใน 3 จำเป็นต้องเร่งค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ให้ได้รับการส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการอย่างเหมาะสม ซึ่งพบว่าร้อยละ 90 จะกลับมาปกติ ส่วนอีกร้อยละ 10 อาจมีปัญหาอืื่นๆ เช่น ออทิสติกหรือมีปัญหาด้านการเรียนรู้ ต้องรับการดูแลรักษา กระตุ้นพัฒนาการโดยผู้เชี่ยวชาญอย่างต่อเนื่อง

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย

เด็ก 0-5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย

80.00
2 เพื่อให้เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา

เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา

80.00
3 เพื่อพัฒนาศักยภาพเชิงรุกแก่ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี และ อสม. ให้มีความรู้และความเข้าใจสามารถประเมินพัฒนาการเด็กได้ถูกต้อง

ผู้ดูแลเด็ก 0-5 ปี และ อสม. ให้มีความรู้และความเข้าใจสามารถประเมินพัฒนาการเด็กได้ถูกต้อง

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 29,600.00 1 29,600.00
18 พ.ย. 61 อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลเด็ก/ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี และตัวแทน อสม. เกี่ยวกับการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี 0 29,600.00 29,600.00

การเตรียมการ 1. สำรวจข้อมูลเด็ก 0-5 ปี แต่ละหมู่บ้านและแยกจำนวนเด็กให้ อสม. ตามเขตรับผิดชอบแต่ละละแวก 2. ประชุมเชิงปฏิบัติการระหว่าง จนท. และ อสม. เพื่อระดมสมองและหาข้อมูลในการวางแผนดำเนินงานส่งเสริมพัฒนาการเด็กจากปีที่ผ่านมา 3. จัดทำโครงการเสนอองค์การบริหารส่วนตำบลโคกยางเพื่อของบประมาณสนับสนุน การดำเนินการ 1. อบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลเด็ก/ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี และตัวแทน อสม. เกี่ยวกับการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปี
2. สาธิตและฝึกการประเมินพัฒนาการเด็กโดยใช้แบบประเมิน DSPM 3. เจ้าหน้าที่ร่วมกับ อสม. ร่วมออกประเมินพัฒนาการเด็กในหมู่บ้าน (อายุครบ 9 , 18 , 36 , 42 เดือน)

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ทางตรง : เด็กทุกคนได้รับการคัดกรองพัฒนาการเชิงรุก ครบถ้วน อีกทั้งการกระตุ้นตามวัยและได้รับการส่งต่อตามกระบวนการเพื่อการรักษาอย่างถูกต้องต่อไป ทางอ้อม : ลดปัญหาการเรียนรู้ต่อไปในโรงเรียนและการอยู่ร่วมกันในสังคมของเด็กไทย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 มิ.ย. 2561 14:30 น.