กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ


“ โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ กุมปังวัฒนธรรมพื้นบ้านกับงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๖๑ ”

ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายไซฟูดิน เถาะ

ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ กุมปังวัฒนธรรมพื้นบ้านกับงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8426-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ กุมปังวัฒนธรรมพื้นบ้านกับงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๖๑ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ กุมปังวัฒนธรรมพื้นบ้านกับงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ กุมปังวัฒนธรรมพื้นบ้านกับงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 61-L8426-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 45,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภายใต้สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจที่ราคาผลผลิตทางการเกษตรตกต่ำ เวลาในแต่ละวันของประชาชนหมดไปกับการหารายได้เพื่อการยังชีพของตนเองและครอบครัว ความใส่ใจในการดูแลสุขภาพของตนเองน้อยลง การพบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความรู้เรื่องราวข่าวสารต่าง ๆการทำกิจกรรมร่วมกันเพื่อส่วนรวมก็น้อยลง ส่งผลให้สังคมที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ดูแลกันและกัน กลายเป็นสังคมที่ต่างคนต่างอยู่ ก่อให้เกิดความเครียดส่งผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตของประชาชนตามมา ประกอบกับสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย สภาพแวดล้อมไม่ดี รวมทั้งพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในพื้นที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลให้เกิดปัญหาอื่น ๆ ทางสุขภาพตามมามากมาย ถึงแม้ เจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่จะดำเนินการป้องกัน แก้ไขปัญหาต่าง ๆ แล้วก็ตาม แต่ประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นความสำคัญ และให้ความร่วมมือในการดำเนินงานมากนัก กลุ่ม Pemuda sakti เป็นกลุ่มซึ่งเกิดจากการรวมตัวกันของประชาชนกลุ่มบ้านดามาบูเวาะห์ ในพื้นที่หมู่ ๑ ตำบลตันหยงลิมอ จำนวน ๒๐ คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟูศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน และนำศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้ในงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การดูแล ส่งเสริม ป้องกันสุขภาพของประชาชนในพื้นที่หมู่ ๑ ซึ่งเป็นพื้นที่ประชาชนนับถือศาสนาอิสลามร้อยละ ๑๐๐จากการประชุมกลุ่ม Pemuda sakti สมาชิกในกลุ่มร่วมกันพิจารณาและมีมติเห็นชอบในการเลือกกุมปัง ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีพื้นบ้านประเภทเครื่องเคาะหรือกลอง ในสมัยโบราณใช้ตีเพื่อแสดงออกถึงความรักชาติและต้อนรับแขกบ้านแขกเมืองในหมู่กษัตริย์มลายู ปัจจุบันใช้ตีในขบวนแห่งานมลคลต่าง ๆ คล้ายกับการตีกลองยาวของชาวไทย ประกอบกับปัจจุบันมีการประยุกต์โดยการนำกุมปังมาตีประกอบการขับร้องเพลง อนาซีด คือการร้องเพลงประสานเสียงในศาสนาอิสลาม ซึ่งเป็นการขับร้องบทเพลงที่เกี่ยวกับการศรัทธา การทำความดี ให้มีความไพเราะมากยิ่งขึ้น เรียกว่า“อนาซีดกุมปัง” กลุ่ม Pemuda saktiมีแนวคิดในการนำ “กุมปัง” มาประยุกต์ในกับงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากในอดีตคนที่ตีกลองกุมปังส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุหรือคนสูงวัย แต่ปัจจุบันเริ่มมีกลุ่มเด็ก และเยาวชนตลอดจนคนวัยทำงานให้ความสำคัญในการเล่นกุมปังมากขึ้นส่งผลให้กุมปังสามารถเข้าถึงประชาชนทุกกลุ่ม สามารถนำกุมปังมาประยุกต์ใช้ให้สอดคล้องกับงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมการดูแลสุขภาพตัวเองของประชาชนในพื้นที่โดยการตีกุมปังร่วมกับการขับร้องบทเพลง อนาซีด ซึ่งเป็นบทเพลงที่ประยุกต์เนื้อเพลงในทำนองการให้ประชาชนรู้ และสร้างความเข้าใจ เพื่อให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ซึ่งการแสดงกุมปัง จะเล่นพร้อมกันเป็นวงใหญ่ ประกอบด้วยจังหวะการตีต่างกัน ผู้เล่นจะต้องมีทักษะในการแยกเสียงและจังหวะได้เป็นอย่างดี ประกอบกับปัจจุบันเครื่องดนตรีกุมปัง จะถูกใช้ประกอบในศิลปะการแสดงของทางภาคใต้ของไทยแทบทุกชนิด โดยเฉพาะในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ เพราะเป็นดนตรีที่ให้จังหวะเสียงอันไพเราะ และที่สำคัญที่สุดคือ ถูกต้องตามหลักศาสนา กลุ่ม Pemuda sakti จึงร่วมกับกลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในพื้นที่ และประชาชนทั่วไป รวมทั้งผู้สูงอายุ จัดทำโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ กุมปังวัฒนธรรมพื้นบ้านกับงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๖๑โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานโครงการดังกล่าว จากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตันหยงลิมอ และมีผู้เข้าร่วมอบรมได้แก่ สมาชิกกลุ่ม Pemuda saktiจำนวน ๒๐ คน สมาชิกอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ประชาชนทั่วไปและผู้สูงอายุ ที่สนใจ จำนวน ๒๐ คน กิจกรรมประกอบด้วยฟังการบรรยายเรื่องงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การดูแลสุขภาพ การป้องกันโรค และฝึกปฏิบัติการใช้เครื่องดนตรีกุมปัง ตลอดจนขั้นตอนการแต่งบทเพลงอนาซีด เป็นสื่อแนวทางการส่งเสริมและป้องกันสุขภาพ โดยได้รับการสนับสนุนทีมวิทยากรผู้มีความรู้ความสามารถเครื่องดนตรีกุมปัง จากศูนย์วัฒนธรรมสลาตัน(BUMI) จังหวัดยะลา และวิทยากรด้านการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันสุขภาพรวมทั้งสิ่งแวดล้อมจากเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตอหลัง และเจ้าหน้าที่จากกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงลิมอยังเป็นการส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ สร้างความรัก และความสามัคคีในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ การดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม ป้องกันสุขภาพของประชาชน
  2. เพื่อสร้างแนวทางการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม ป้องกันสุขภาพของประชาชน ด้วยการประยุกต์ใช้ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

กลุ่มบ้านดามาบูเวาะห์ มีแกนนำกลุ่ม ประกอบด้วย กลุ่ม Pemuda saktiอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ประชาชนทั่วไป และผู้สูงอายุในการดำเนินงานด้านสาธารณสุข โดยมีอนาซีดกุมปังและเครื่องดนตรีกุมปังเป็นแนวทางในการส่งต่อ ข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ ด้านการส่งเสริมป้องกันสุขภาพ ช่วยกระตุ้นให้เห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน รวมทั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชนในพื้นที่ อย่างยั่งยืน และเป็นการใช้เวลาว่างของเด็กและเยาวชน ตลอดจนคนทั่วไปผู้สูงอายุ ให้เกิดประโยชน์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ การดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม ป้องกันสุขภาพของประชาชน
ตัวชี้วัด : ๑. ผู้ผ่านการอบรม ร้อยละ ๗๐ มีความรู้ และเข้าใจการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม ป้องกันสุขภาพของประชาชน
0.00

 

2 เพื่อสร้างแนวทางการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม ป้องกันสุขภาพของประชาชน ด้วยการประยุกต์ใช้ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน
ตัวชี้วัด : ๑. การประยุกต์ใช้ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน ในการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม ป้องกันสุขภาพของประชาชน เข้าถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย ๒. ประชาชนในพื้นที่มีความพึงพอใจ ร้อยละ ๗๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ การดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม ป้องกันสุขภาพของประชาชน  (2) เพื่อสร้างแนวทางการดำเนินงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม ป้องกันสุขภาพของประชาชน  ด้วยการประยุกต์ใช้ศิลปะวัฒนธรรมพื้นบ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ กุมปังวัฒนธรรมพื้นบ้านกับงานด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ปี ๒๕๖๑ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 61-L8426-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายไซฟูดิน เถาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด