กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาโรคเอดส์และยาเสพติดในวัยรุ่น ”
ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางทัศนีย์ คงเทพ




ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาโรคเอดส์และยาเสพติดในวัยรุ่น

ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาโรคเอดส์และยาเสพติดในวัยรุ่น จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาโรคเอดส์และยาเสพติดในวัยรุ่น



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจะให้วัยรุ่นและเยาวชนรู้จักป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดมาจากการมีเพศสัมพันธ์ (2) เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนรู้พิษภัยของยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

วัยรุ่นสมัยนี้จะมั่วสุมกันมาก ชอบทดลองสิ่งใหม่ ๆ ที่ผิดๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องยาเสพติด เรื่องเพศสัมพันธ์จนเกิดมีการตั้งครรภ์หรือท้องก่อนวัยอันควรซึ่งเกิดจาการไม่ได้มีการป้องกัน และเรื่องยาเสพติดนำไปสู่การลักเล็กขโมยน้อยจนเกิดเป็นปัญหาสังคมอยู่ในขณะนี้และปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่สำคัญของทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทย หากวัยรุ่นเกิดการตั้งครรภ์ก่อนวัยที่เหมาะสม หรือก่อนที่จะมีความพร้อมในการเป็นมารดา จะส่งผลกระทบอย่างมากต่อทั้งตัววัยรุ่นเอง ครอบครัว สังคม รวมทั้งประเทศชาติการดำเนินการด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของประเทศไทยยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร ดังจะเห็นได้จากอัตราคลอดในวัยรุ่น ซึ่งเป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของ Millennium Development Goals ของประเทศไทยยังคงมีการเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ดังจะเห็นได้จากข้อมูลรายงานสถิติสาธารณสุขไทยประจำปีพบว่า อัตราการคลอดของมารดาอายุ 15-19 ปี ณ ปีพ.ศ. 2543 เท่ากับ 31.1 ต่อประชากรหญิง 1,000 คน และเพิ่มสูงถึง 53.8 ต่อประชากรหญิง 1,000 คน ในปีพ.ศ. 2555ซึ่งเป็นอัตราการเพิ่มขึ้นถึงกว่าร้อยละ 70 ในขณะที่ทั่วโลกรวมทั้งทวีปแอฟริกาที่เคยมีอัตราเกิดมีชีพเฉลี่ยสูงที่สุดในโลกกลับมีแนวโน้มลดลงโดยเฉลี่ยถึงประมาณร้อยละ 20 นอกจากนี้อัตราเกิดมีชีพในกลุ่มวัยรุ่นอายุน้อยกว่า 15 ปีมีแนวโน้มสูงขึ้นมาเรื่อย ๆ จากข้อมูลล่าสุดในปี พ.ศ. 2555 พบว่ามีวัยรุ่นอายุ 10-14 ปีคลอด 3,725 คน ซึ่งคิดเป็นจำนวนที่สูงกว่า 10 ปีที่แล้วถึงกว่า2 เท่า ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต จึงได้เขียนโครงการขึ้นมาเพื่อที่จะอบรมให้ความรู้แก่วัยรุ่นและเยาวชน ดังที่ได้กล่าวมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจะให้วัยรุ่นและเยาวชนรู้จักป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดมาจากการมีเพศสัมพันธ์
  2. เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนรู้พิษภัยของยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 78
กลุ่มวัยทำงาน 26
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

วัยรุ่นและเยาวชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิตและมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้

วันที่ 20 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง 2.จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 3.ดำเนินการอบรม
      3.1 ทำแบบทดสอบก่อนอบรม
      3.2 อบรมให้ความรู้ (โดยเจ้าหน้าที่)   การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายและจิตใจเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น   การตั้งครรภ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และโรคเอดส์ ยาเสพติดให้โทษ
      3.3 ทำแบบทดสอบหลังการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-  จัดอบรม ความรู้เกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในวันที่ 20 กรกฎาคม 2561
- สาธิตการใช้ถุงยางอนามัย - จัดอบรม ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ ในวันที่ 20 กรกฎาคม 2561
จากการฝึกอบรมทำให้วัยรุ่นสามารถรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจ และการเข้าสู่สังคม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

104 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วัตถุประสงค์ ผลลัพธ์ 1. เพื่อจะให้วัยรุ่นและเยาวชนรู้จักป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดมาจากการมีเพศสัมพันธ์
- จัดอบรม ความรู้เกี่ยวกับเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การตั้งครรภ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นในวันที่ 20 กรกฎาคม 2561
- สาธิตการใช้ถุงยางอนามัย 2. เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนรู้พิษภัยของยาเสพติด
- จัดอบรม ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษ ในวันที่ 20 กรกฎาคม 2561
3. วัยรุ่นและเยาวชนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดีขึ้น
-จากการฝึกอบรมทำให้วัยรุ่นสามารถรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงของร่างกายและจิตใจ และการเข้าสู่สังคม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดโครงการ ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อนและหลัง -ผู้เข้าร่วมอบรมก่อนอบรม มีความรู้ร้อยละ 82.23 หลังอบรม มีความรู้ร้อยละ 94.82 3.การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 10,360 บาท ดังนี้   ๑. ค่าถ่ายเอกสารแบบทดสอบก่อน-หลัง อบรม จำนวน 220 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 110 บาท   ๒. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้จัดอบรม จำนวน 110 คน x 25 บาท x 1 มื้อ เป็นเงิน 2,750 บาท   ๓. ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1 เมตร x 3 เมตร จำนวน 1 ป้าย x 600 บาท  เป็นเงิน 600 บาท   ๔. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง x 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท   5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม จำนวน 3,300 บาท 4.ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน   ระยะเวลาในการฝึกอบรมน้อยเกินไป ควรเพิ่มระยะการฝึกอบรมเป็นเวลา 1 วัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจะให้วัยรุ่นและเยาวชนรู้จักป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดมาจากการมีเพศสัมพันธ์
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นและเยาวชนมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิตและมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย ห่างไกลโรคติดต่อ
0.00

 

2 เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนรู้พิษภัยของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : วัยรุ่นและเยาวชนมีความรู้พิษภัยของยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 104
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 78
กลุ่มวัยทำงาน 26
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจะให้วัยรุ่นและเยาวชนรู้จักป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดมาจากการมีเพศสัมพันธ์ (2) เพื่อให้วัยรุ่นและเยาวชนรู้พิษภัยของยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหลัก อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาโรคเอดส์และยาเสพติดในวัยรุ่น จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางทัศนีย์ คงเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด