กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขโรคขาดสารไอโอดีน ตามพระปณิธานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
รหัสโครงการ 61-L8291-1-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 28 มิถุนายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 21,013.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอาธร อุคคติ/นายนันทะ ทองเพ็ง/นางสาวปราณชนก เกนุ้ย
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลย่านตาขาว อำเภอย่านตาขาว จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.406,99.674place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 95 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภาวะขาดสารไอโอดีน เป็นภาวะโภชนาการที่เกิดขึ้นกับประชากรทั่วโลกและเป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดของภาวะปัญญาอ่อนและความเสียหายต่อสมองการได้รับสารไอโอดีนไม่พอของหญิงตั้งครรภ์ จะส่งผลให้เกิดความด้อยของสมองในทารกและเด็ก รวมทั้งสภาพร่างกายแคระแกร็นและมีความเสี่ยงต่อการแท้งบุตรสูง ส่วนเด็กที่ไม่ได้รับสารไอโอดีนเพียงพอจะมีสมองและร่างกายที่เติบโตช้ากว่าปกติ ซึ่งอาจส่งผลทำให้หยุดการเจริญเติบโตและมีส่วนทำให้ไอคิวของเด็กต่ำลง อาการผิดปกติเหล่านี้เป็นสิ่งที่สามารถป้องกันได้ เพื่อขจัดโรคขาดสารไอโอดีนที่ส่งผลต่อการพัฒนาสติปัญญาของเด็กไทยด้วยการส่งเสริมการบริโภคเกลือ ไอโอดีนในระดับชุมชนให้ทุกครัวเรือนได้บริโภคเกลือไอโอดีนที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลย่านตาขาว จึงจัดทำโครงการป้องกันและแก้ไข ปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 - เพื่อให้ความรู้เรื่องการควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนแก่ประชาชนในพื้นที่
  • ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนเพิ่มขึ้น
0.00
2 - เพื่อรณรงค์การบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน
  • คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้ในครัวเรือนอยู่ในระดับเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละ 90
0.00
3 - เพื่อสุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้ในชุมชน

 

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 21,013.00 1 17,023.00
27 ก.ย. 61 อบรมให้ความรู้ 0 21,013.00 17,023.00
  • เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติ
  • ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  • จัดทำแผนแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนในพื้นที่
  • จัดกิจกรรมให้ความรู้และรณรงค์ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน
  • จัดกิจกรรม สุ่มตรวจคุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนในครัวเรือน โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ และร้านค้า ร้านอาหาร
  • จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนในชุมชน เช่น ป้ายรณรงค์ เสียงตามสาย แผ่นพับ โปสเตอร์
  • ประเมินผลความรู้ก่อน-หลังการอบรม
  • สรุปผลการดำเนินโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • ประชาชนในเขตเทศบาลมีความรู้ เรื่อง การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนเพิ่มขึ้น
  • คุณภาพเกลือเสริมไอโอดีนที่ใช้อยู่ในครัวเรือนอยู่ในระดับเกณฑ์มาตรฐาน
  • ประชาชนมีการบริโภคเกลือเสริมไอโอดีน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 มิ.ย. 2561 13:38 น.