กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองพ้อ


“ โครงการแก้ไขภาวะโภชนาการเด้ก 0-5 ปี ”

อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลควนขนุน

ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขภาวะโภชนาการเด้ก 0-5 ปี

ที่อยู่ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3315-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขภาวะโภชนาการเด้ก 0-5 ปี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองพ้อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขภาวะโภชนาการเด้ก 0-5 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขภาวะโภชนาการเด้ก 0-5 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3315-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลหนองพ้อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กปฐมวัยคือเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี เป็นช่วงที่มีความสำคญต่อการสร้างเสริมสุขภาพ การเจริญเติบโตที่ดีเป็นรากฐานสำคัญของกรมีสุขภาพดีตลอดชีวิต โดยเริ่มตั้ืงแต่ในครรภ์มารดาจนถึงเด็กอายุ 5 ปี การเจริญเติบโตมีทั้งด้านสมองและร่างกายการเจริญเติบโตของเด็กเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญต่อสุขภาพโดยรวม นั่นคือ สติปัญญา พัฒนาการ ภูมิต้านทานโรค และรื้อรัง การขาดอาหารในเด็กมัผลเสี่ยงถึง 4 ช่วงอายุ คือ ปัจจุบัน วัยเรียน วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา ตลอดจนส่งผลต่อการขาดอาหารของรุ่นลูกรุ่นหลานเป็นวงจรต่อกันไปเรื่อยๆ ภาวะอ้วนในเด็กมีผลต่อสุขภาพในระยะยาว เด็กอ้วนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคไม่ติต่อเรื้อรังเช่นกัน ข้อมูลภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ของตำบลควน ปี 2559-2561 เด้กมีภาวะผอม ร้อยละ3.56 ,3.85 ,5.08 ภาวะเตี้ย ร้อยละ 6.8 , 7.39 ,7.98ภาวะอ้วน ร้อยละ 3.14 ,2.48 ,3.19 ตามลำดับ จากข้อมุลขนาดของปัญหามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะสถานการณ์ภาวะผอมของเด็กสูงกว่าตัวชี้วัดระดับประเทศ ตามแนวทางการดำเนินงานปี 2561 เด้ก 0-5 ปี มีภาวะผอมไม่เกินร้อยละ 5 และเด้ก 0-5 ปี มีภาวะอ้วน ภาวะเตี้ย ไม่เกินร้อยละ 10 ตำบลควนขนุนเด็ก 0-5 ปีทีมีภาวะอ้วน ภาวะเตี้ย แม้ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัดแต่มีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้นควรเฝ้าระวังปัญหานี้ เพื่อเป็นแนวทางการส่งเสริมการบริโภคอาหาร การจัดการเฝ้าระวัง และแก้ไขปัญหาโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลควนขนุน จึงจัดทำดครงการแก้ไขภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปีขึ้น ซึ่งการดำเนินงานโดยเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการส่งเสริมให้ครอบครัว พ่อแม่ ผู้เสี่ยงดูเด็ก และชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
  2. เฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. เพื่อเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด้กปฐมวัยมีการเจริญเติบโตสมวัย 2.เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและแก้ไขปัญหา จากครอบครัว ชุมชน 3.ผู้ปกครองเด้กมีความรุ้ในการดูแลเด้กด้านโภชนาการ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. เพื่อเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี

วันที่ 27 สิงหาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการดำเนินงาน 1.จัดทำฐานข้อมุลเด็กที่มีภาวะผอม อ้วน เตี้ย 2.จัดให้มีอุปกรณ์ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงที่ได้มาตจรฐานเป็นแบบอย่างใช้ในชุมชนจำนวน 1 ชุด 3.กิจกรรมส่งเสริมความรู้ด้านโภชนาการ ทักษะการประเมินการเจริญเติบโตจากกราฟ แก่ผู้ดูแลเด็กและ อสม. 4.ส่งเสริมความรู้เชิงปฎิบัตการ สาธิตการจัดอาหารเด้กที่มีภาวะผอม อ้วน เตี้ย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. เด้กปฐมวัยมีการเจริญเติบโตสมวัย 2.เด็ก 0-5 ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและแก้ไขปัญหา จากครอบครัว ชุมชน 3.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการ

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
80.00

 

2 เฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 80
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ (2) เฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพื่อเฝ้าระวังติดตามภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการแก้ไขภาวะโภชนาการเด้ก 0-5 ปี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3315-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์แพทย์ชุมชนโรงพยาบาลควนขนุน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด