กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการและทุพพลภาพ ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางวิภาดา เต็มยอด กรรมการศูนย์คนพิการทั่วไปเทศบาลตำบลนาโหนด




ชื่อโครงการ โครงการประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการและทุพพลภาพ

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 สิงหาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการและทุพพลภาพ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการและทุพพลภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการและทุพพลภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันมีผู้พิการที่ได้รับการขึ้นทะเบียนผู้พิการและรับเบี้ยความพิการแล้วรวมทั้งส้ิน 254 คน แต่ละคนมีความพิการที่แตกต่างกัน โดยสามารถแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ชเ่น คนพิการทางการมองเห็น คนพิการทางการได้ยิน คนพิการทางการเคลื่อนไหว คนพิการทางจิตหรือพฤติกรรม คนพิการทางสติปัญญา เป็นต้น ซึ่งจำนวนผู้พิการ 254 ราย จำเป็นที่จะต้องได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการดูแลสุขภาพของผู้พิการให้สามารถใช้ชีวยิตได้ยืนยาว และอยู่อย่างมีความสุข อีกทั้งสามารถทำให้ทราบได้ว่าผู้พิการรายนั้น ๆ สมควรได้รับการ่วยเหลือในเรื่องใด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป เทศบาลตำบลนาโหนด มีข้อมูลผู้พิการครบถ้วน ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้พิการได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพคนพิการ
  3. เพื่อให้ครอบครัวของผู้พิการ มีวิธีการในการดูแลผู้พิการที่อยู่ในครัวเรือนได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 254
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป มีสมุดบันทึก สุขภาพของผู้พิการครบทุกราย
    2.ผู้พิการได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย ปีละ 2 ครั้ง
    3.ครอบครัวของผู้พิการ รับรู้วิธีการในการดูแลผู้พิการที่อยู่ในครัวเรือนได้อย่างถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชุมอาสาสมัคร

    วันที่ 17 มีนาคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามโครงการแก่อาสาสมัครผู้ดูแลผู้พิการและผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 22 คน ทำให้อาสาสมัครมีความเข้าใจในวิธีการประเมินพฤติกรรมสุขภาพเบื้องต้นของผู้พิการ และสามารถบันทึกข้อมูลในสมุดบันทึกสุขภาพผู้พิการได้อย่างถูกต้อง

     

    24 22

    2. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการ

    วันที่ 17 เมษายน 2560 เวลา 10.00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัครผู้ดูแลผู้พิการ ออกทำการประเมินพฤติกรรมสุขภาพเบื้องต้นของผู้พิการ โดยการวัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก ซักประวัติด้านสุขภาพ และทำการบันทึกข้อมูลลงในสมุดบันทึกสุขภาพผู้พิการ โดยมีระยะเวลาดำเนินการ กรณีหมู่บ้านที่มีผู้พิการมากกว่า 25 คน จะทำการประเมิน 2 วัน และหมู่บ้านที่มีผู้พิการไม่เกิน 25 คน จะทำการประเมิน 1 วัน โดยแต่ละหมู่บ้านจะมีเวลาดำเนินการไม่พร้อมกัน โดยมีระยะเวลาดำเนินการอยู่ในระหว่างวันที่ 17 -30 เมษายน 2560 โดยบางหมู่บ้านนัดผู้พิการที่ช่วยเหลือตัวเองได้ มาทำการประเมินที่ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน สำหรับผู้พิการบางรายที่ไม่สะดวกในการเดินทาง รวมถึงผู้ป่วยติดเตียง อาสาสมัครก็ไปประเมินที่บ้านพักของผู้พิการ 

     

    200 263

    3. ประชุมชี้แจงอาสามัครผู้ดูแลผู้พิการผู้เข้าร่วมโครงการ

    วันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดประชุมอาสาสมัครผูั้ดุแลผู้พิการ เพื่อชี้แจงขั้นตอน วิธีการประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการ (รอบที่ 2) โดยมีอาสาสมัครเข้าร่วมประชุม 16 คน ซึ่งทั้ง 16 คน มีความเข้าใจในการบันทึกข้อมูลในสมุดบันทึกสุขภาพผู้พิการเป็นอย่างดี 

     

    24 16

    4. ประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการและทุพพลภาพ (ครั้งที่ 2)

    วันที่ 11 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    อาสาสมัครผู้ดูแลผู้พิการ ออกทำการประเมินพฤติรรมสุขภาพเบื้องต้นของผู้พิการ โดยทำกากรชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ซักประวัติสุขภาพ และบันทึกข้อมูลที่ได้ลงในสมุดบันทึกสุขภาพ โดยดำเนินการในห้วงเดือนสิงหาคม 2560 ในจำนวนหมู่บ้านที่มีผู้พิการไม่เกิน 25 คน ทำการประเมิน 1 วัน กรณีมีผู้พิการมากกว่า 25 คน ทำการประเมิน 2 วัน โดยนัดหมายผู้พิการมาพร้อมกัน ณ ศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน กรณีผู้พิการไม่สะดวกในการเดินทาง หรือผุ้ป่วยติดเตียง อาสาสมัครฯ จะไปทำการประเมินที่บ้านพักของผู้พิการ หรือผู้ป่วยติดเตียงแล้วแต่กรณี ซึ่งในการประเมินรอบนี้ มีผู้พิการได้รับการประเมิน 260 คน 

     

    200 260

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการทำโครงการ จัดประชุมอาสาสมัครเพื่อชี้แจงโครงการ จำนวน 2  ครั้ง ๆ ที่ 1 วันที่ 17มีนาคม 2560 มีผู้เข้าร่วมประชุม 22 คน ครั้งที่ 2วันที่ 10 สิงหาคม 2560 มีผู้เข้าร่วมประชุม 16 คน         อาสาสมัครทำการประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการในพื้นที่ตำบลนาโหนด โดยการวัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก และให้คำแนะนำในการดูแลสุขภาพ  พร้อมบันทึกผลในสมุดบันทึกสุขภาพผู้พิการ จำนวน 11 หมู่บ้าน หมู่บ้านละ 2 ครั้ง
    ครั้งที่ 1 จำนวน 263 คน  แยกเป็นผู้พิการที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 247 คน และผู้พิการ      ติดเตียง 16 คน
    ครั้งที่ 2 จำนวน 260 คน  แยกเป็นผู้พิการที่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ 244 คน และผู้พิการ      ติดเตียง 16 คน
    รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ                 1.ค่าจัดเลี้ยงรับรองอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับการประชุมอาสาสมัครผู้ดูแลผู้พิการและผู้เกี่ยวข้อง  จำนวน 2 ครั้ง
      ครั้งที่ 1 วันที่ 17 มีนาคม 2560 มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน  22 คน
      ครั้งที่ 2 วันที่ 10 สิงหาคม 2560 มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 16 คน
      รวมทั้งสิ้น 38 คน ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 760
    2.ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ในการสำรวจและบันทึกข้อมูลสมุดบันทึกสุขภาพ (รายใหม่) จำนวน 71 ชุด ชุดละ 10 บาท เป็นเงิน 710 บาท
    3.ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ในการประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการ จำนวน 22 คน ๆละ 200 บาท/วัน ดังนี้
      3.1 หมู่บ้านที่มีผู้พิการเกิน 25 คน จำนวน 3 หมู่บ้าน (หมู่ที่ 3,4 และ 10) หมู่ ละ 2 คนๆละ  4  วัน ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท
      3.2 หมู่บ้านที่มีผู้พิการไม่เกิน 25 คน จำนวน 8 หมู่บ้าน (หมู่ที่ 1,2,5,6,7,8,9 และหมู่ที่ 11) หมู่ละ 2 คนๆ ละ 2  วันๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 6,400 บาท
    4.ค่าตอบแทนเจ้าหน้าที่ในการออกประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการ (กรณีไม่สามารถเดินทางมารับการประเมินด้วยตนเอง หรือผู้ป่วยติดเตียง) จำนวน 18 ราย ๆ ละ 2 ครั้ง ๆ ละ 50 บาท  เป็นเงิน  บาท
    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 1,800 บาท
      รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 14,470 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป เทศบาลตำบลนาโหนด มีข้อมูลผู้พิการครบถ้วน ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป เทศบาลตำบลนาโหนด มีข้อมูลผู้พิการครบถ้วน ถูกต้อง

     

    2 เพื่อให้ผู้พิการได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพคนพิการ
    ตัวชี้วัด : ผู้พิการได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพคนพิการ ครบทุกราย จำนวน 254 ราย

     

    3 เพื่อให้ครอบครัวของผู้พิการ มีวิธีการในการดูแลผู้พิการที่อยู่ในครัวเรือนได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : ครอบครัวของผู้พิการ ทราบวิธีการในการดูแลผู้พิการที่อยู่ในครัวเรือนได้อย่างถูกต้อง ผู้พิการสามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุข

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 254
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 254
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป เทศบาลตำบลนาโหนด มีข้อมูลผู้พิการครบถ้วน ถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้พิการได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และจัดทำสมุดบันทึกสุขภาพคนพิการ (3) เพื่อให้ครอบครัวของผู้พิการ มีวิธีการในการดูแลผู้พิการที่อยู่ในครัวเรือนได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการประเมินพฤติกรรมสุขภาพผู้พิการและทุพพลภาพ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวิภาดา เต็มยอด กรรมการศูนย์คนพิการทั่วไปเทศบาลตำบลนาโหนด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด