โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน ”
ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายประพันธุ์ สันมาหมีนผอ.รพ.สต.บ้านวังตง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน
ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5294-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5294-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการดำเนินชีวิตของของคนในเขตตำบลนาทอน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตรกรรมซึ่งพบว่า การประสบปัญหาเรื่องโรคภัยไข้เจ็บ จากโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อสารเคมีอาหารที่บริโภค สิ่งแวดล้อมการประกอบอาชีพตลอดจนภาวะสุขภาพของปัจเจกชน พฤติกรรมเสี่ยง อุบัติเหตุอุบัติภัยสารเสพติดอบายมุขการขาดความรับผิดชอบต่อตนเองครอบครัว ชุมชนผลประโยชน์การไม่คำนึงถึงเพศภัยก็อาจส่งผลต่อสุขภาพโดยตรงแต่ยังมีความโชคดีในท้องถิ่นส่วนมากมักจะ ให้ความสนใจในเรื่องสุขภาวะ ตัวคน สิ่งแวดล้อม ที่อยู่อาศัยขยะมูลฝอยที่ดับความร่วมมือจากชุมชนโดยมีองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอนผู้นำท้องถิ่นผู้นำท้องที่องค์กรภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำสุขภาพ สถานศึกษาวัดมัสยิด และจิตอาสาในชุมชนผนึกลังโดยอาศัยการประชุมหารือ และสร้างกฎกติกาขึ้นในชุมชน ( ชันชีสุขภาพตำบลนาทอน ) ดังนั้นการจัดทำโครงการแผนที่ความเสี่ยงจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายและจากข้อมูลสาธารณสุขในพื้นที่ความเสี่ยงด้านสุขภาพงานระบาดของโรคภัยไข้เจ็บ ผู้ป่วยที่มีอยู่หมู่บ้านทุกโรค ทุกกลุ่มอายุรวมถึงสถิติการเสียชีวิตของคนในพื้นที่ ย้อนหลัง 3 ปีทุกสภาวะ แหล่งโรค สภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค การเรียนรู้ร่วมกัน นำมาทำเป็นแผนที่ความเสี่ยงเพื่อเป็นข้อมูลในการรู้ทันโรคในภาพรวมและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สนใจ นำมาประยุกต์ใช้ในการมองปัญหาในอนาคตและการลดความเสี่ยงของการเจ็บป่วยรวมไปถึงการลดค่าใช้จ่ายเงินในการรักษาโรค
ดังนั้นการดำเนินการต้องอาศัยความรู้ด้านวิชาการงานระบาดวิทยา ความเข้าใจ ความตระหนักจิตสำนึกของคนในพื้นที่ต้องมีการอบรมให้ความรู้และปรับเปลี่ยนความคิดในการดำเนินชีวิตที่มีแบบแผน สร้างความรับผิดชอบร่วมกัน เสริมสร้างสุขภาวะที่ดีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังตง จึงได้ใช้แนวคิดการสร้างความรู้ทันโรคดีกว่าการแก้ไขหรือการรักษา จึงขอเป็นตัวแทนที่จะจัดการให้ทุกภาคส่วนมีสวนร่วมในการส่งเสริมป้องกันรู้เท่าทันโรคโดยการจัดทำโครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยงหมู่ที่ 4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ทุกภาคส่วน เรียนรู้ข้อมูลปัญหาสุขภาพในชุมชนของตนเอง อย่างมีข้อมูล
- 2. เพื่อรวบรวมปัญหาที่มีในชุมชน ให้มีหลักเกณฑ์ในทางระบาดวิทยา ลดหรือป้องกันการเจ็บป่วยในอนาคต
- 3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือเจ็บได้รับการดูแล ในครอบครัว ชุมชน หรือทีมหมอครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ค้นหาผู้มีจิตอาสา ผู้นำเข้ารับการอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถเรียนรู้ จัดหาข้อมูลต่างๆที่เป็นความเสี่ยง หมู่ที่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอนได้ 2.สามารถแปรความหมายของปัญหามาลงในแผนที่ได้ทุกหมู่ที่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1. ค้นหาผู้มีจิตอาสา ผู้นำเข้ารับการอบรม
วันที่ 24 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ฝึกอบรมความรู้แกนนำสุขภาพ ผู้นำ หมู่ที่ 4,5,8และ9 ตำบลนาทอน
- สำรวจข้อมูลการเจ็บป่วย การตาย ย้อนหลัง 3 ปี ตั้งแต่ปี 2558-2560 ในหมู่ที่ 4,5,8และ9 ตำบลนาทอน
- นัดหมายการจัดอบรม จำนวน หมู่ละ 13 คน หมู่ที่ 4,5,8และ9 ตำบลนาทอน รวม 52 คน
- จัดทำแผนที่ความเสี่ยง หมู่ที่ 4,5,8และ9 ตำบลนาทอน
- ดำเนินการให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง และผู้ที่มีภาวะเสี่ยง ส่งเสริมให้ใช้อุปกรณ์แผนที่ อธิบายปัญหาโดยตัวแทนหมู่บ้าน
รายละเอียดงบประมาณ
- ค่าอาหารว่าง จำนวน 55 คนๆละ 2 มื้อๆละ 20 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 4400 บาท
- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 55 คนๆละ 1 มื้อๆละ 60 บาท จำนวน 2วัน เป็นเงิน 6600 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์การจัดอบรม เป็นเงิน 4100 บาท
- ค่าวิทยากรจำนวน 2 คนๆละ 6 ชม.ๆละ 300 บาท เป็นเงิน 3600 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
52
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ทุกภาคส่วน เรียนรู้ข้อมูลปัญหาสุขภาพในชุมชนของตนเอง อย่างมีข้อมูล
ตัวชี้วัด : 1.ให้ทุกคนมีความรู้ในการค้นหาปัญหาสุขภาพ เหตุของปัญหา
2.การรวบรวมทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วม ในการทำงานร่วมกัน
3.การให้ความสำคัญของสาเหตุของการเจ็บป่วย การตายเพื่อลดความเสี่ยงตนเอง ครอบครัว และสังคม
60.00
2
2. เพื่อรวบรวมปัญหาที่มีในชุมชน ให้มีหลักเกณฑ์ในทางระบาดวิทยา ลดหรือป้องกันการเจ็บป่วยในอนาคต
ตัวชี้วัด : 1.การสร้างความตระหนักในการลดโรค การป่วย การตาย 2.การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพในชุมชน
3.การค้นหาผู้ที่ที่เจ็บป่วย หรือมีความเสี่ยง ในการเจ็บป่วย
60.00
3
3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือเจ็บได้รับการดูแล ในครอบครัว ชุมชน หรือทีมหมอครอบครัว
ตัวชี้วัด : 1.ผู้มีภาวะเสี่ยงได้ลดการเจ็บป่วย หรือลดอาการแทรกซ้อน
2.ผู้ที่เจ็บได้รับการดูแล ควบคุมไม่ให้โรคระบาดต่อไป
3.เพื่อลดการสูญเสียทั้งชีวิต และทรัพย์สิน ลดค่าใช้จ่าย
60.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ทุกภาคส่วน เรียนรู้ข้อมูลปัญหาสุขภาพในชุมชนของตนเอง อย่างมีข้อมูล (2) 2. เพื่อรวบรวมปัญหาที่มีในชุมชน ให้มีหลักเกณฑ์ในทางระบาดวิทยา ลดหรือป้องกันการเจ็บป่วยในอนาคต (3) 3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือเจ็บได้รับการดูแล ในครอบครัว ชุมชน หรือทีมหมอครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ค้นหาผู้มีจิตอาสา ผู้นำเข้ารับการอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5294-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประพันธุ์ สันมาหมีนผอ.รพ.สต.บ้านวังตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน ”
ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายประพันธุ์ สันมาหมีนผอ.รพ.สต.บ้านวังตง
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5294-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทอน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5294-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการดำเนินชีวิตของของคนในเขตตำบลนาทอน ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพการเกษตรกรรมซึ่งพบว่า การประสบปัญหาเรื่องโรคภัยไข้เจ็บ จากโรคติดต่อ โรคไม่ติดต่อสารเคมีอาหารที่บริโภค สิ่งแวดล้อมการประกอบอาชีพตลอดจนภาวะสุขภาพของปัจเจกชน พฤติกรรมเสี่ยง อุบัติเหตุอุบัติภัยสารเสพติดอบายมุขการขาดความรับผิดชอบต่อตนเองครอบครัว ชุมชนผลประโยชน์การไม่คำนึงถึงเพศภัยก็อาจส่งผลต่อสุขภาพโดยตรงแต่ยังมีความโชคดีในท้องถิ่นส่วนมากมักจะ ให้ความสนใจในเรื่องสุขภาวะ ตัวคน สิ่งแวดล้อม ที่อยู่อาศัยขยะมูลฝอยที่ดับความร่วมมือจากชุมชนโดยมีองค์การบริหารส่วนตำบลนาทอนผู้นำท้องถิ่นผู้นำท้องที่องค์กรภาคประชาชน อาสาสมัครสาธารณสุข แกนนำสุขภาพ สถานศึกษาวัดมัสยิด และจิตอาสาในชุมชนผนึกลังโดยอาศัยการประชุมหารือ และสร้างกฎกติกาขึ้นในชุมชน ( ชันชีสุขภาพตำบลนาทอน ) ดังนั้นการจัดทำโครงการแผนที่ความเสี่ยงจึงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายและจากข้อมูลสาธารณสุขในพื้นที่ความเสี่ยงด้านสุขภาพงานระบาดของโรคภัยไข้เจ็บ ผู้ป่วยที่มีอยู่หมู่บ้านทุกโรค ทุกกลุ่มอายุรวมถึงสถิติการเสียชีวิตของคนในพื้นที่ ย้อนหลัง 3 ปีทุกสภาวะ แหล่งโรค สภาพสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค การเรียนรู้ร่วมกัน นำมาทำเป็นแผนที่ความเสี่ยงเพื่อเป็นข้อมูลในการรู้ทันโรคในภาพรวมและส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้สนใจ นำมาประยุกต์ใช้ในการมองปัญหาในอนาคตและการลดความเสี่ยงของการเจ็บป่วยรวมไปถึงการลดค่าใช้จ่ายเงินในการรักษาโรค
ดังนั้นการดำเนินการต้องอาศัยความรู้ด้านวิชาการงานระบาดวิทยา ความเข้าใจ ความตระหนักจิตสำนึกของคนในพื้นที่ต้องมีการอบรมให้ความรู้และปรับเปลี่ยนความคิดในการดำเนินชีวิตที่มีแบบแผน สร้างความรับผิดชอบร่วมกัน เสริมสร้างสุขภาวะที่ดีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังตง จึงได้ใช้แนวคิดการสร้างความรู้ทันโรคดีกว่าการแก้ไขหรือการรักษา จึงขอเป็นตัวแทนที่จะจัดการให้ทุกภาคส่วนมีสวนร่วมในการส่งเสริมป้องกันรู้เท่าทันโรคโดยการจัดทำโครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยงหมู่ที่ 4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ทุกภาคส่วน เรียนรู้ข้อมูลปัญหาสุขภาพในชุมชนของตนเอง อย่างมีข้อมูล
- 2. เพื่อรวบรวมปัญหาที่มีในชุมชน ให้มีหลักเกณฑ์ในทางระบาดวิทยา ลดหรือป้องกันการเจ็บป่วยในอนาคต
- 3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือเจ็บได้รับการดูแล ในครอบครัว ชุมชน หรือทีมหมอครอบครัว
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ค้นหาผู้มีจิตอาสา ผู้นำเข้ารับการอบรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.สามารถเรียนรู้ จัดหาข้อมูลต่างๆที่เป็นความเสี่ยง หมู่ที่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอนได้ 2.สามารถแปรความหมายของปัญหามาลงในแผนที่ได้ทุกหมู่ที่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1. ค้นหาผู้มีจิตอาสา ผู้นำเข้ารับการอบรม |
||
วันที่ 24 ธันวาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ค่าอาหารว่าง จำนวน 55 คนๆละ 2 มื้อๆละ 20 บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 4400 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
52 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ทุกภาคส่วน เรียนรู้ข้อมูลปัญหาสุขภาพในชุมชนของตนเอง อย่างมีข้อมูล ตัวชี้วัด : 1.ให้ทุกคนมีความรู้ในการค้นหาปัญหาสุขภาพ เหตุของปัญหา 2.การรวบรวมทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วม ในการทำงานร่วมกัน 3.การให้ความสำคัญของสาเหตุของการเจ็บป่วย การตายเพื่อลดความเสี่ยงตนเอง ครอบครัว และสังคม |
60.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อรวบรวมปัญหาที่มีในชุมชน ให้มีหลักเกณฑ์ในทางระบาดวิทยา ลดหรือป้องกันการเจ็บป่วยในอนาคต ตัวชี้วัด : 1.การสร้างความตระหนักในการลดโรค การป่วย การตาย 2.การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพในชุมชน 3.การค้นหาผู้ที่ที่เจ็บป่วย หรือมีความเสี่ยง ในการเจ็บป่วย |
60.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือเจ็บได้รับการดูแล ในครอบครัว ชุมชน หรือทีมหมอครอบครัว ตัวชี้วัด : 1.ผู้มีภาวะเสี่ยงได้ลดการเจ็บป่วย หรือลดอาการแทรกซ้อน 2.ผู้ที่เจ็บได้รับการดูแล ควบคุมไม่ให้โรคระบาดต่อไป 3.เพื่อลดการสูญเสียทั้งชีวิต และทรัพย์สิน ลดค่าใช้จ่าย |
60.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ทุกภาคส่วน เรียนรู้ข้อมูลปัญหาสุขภาพในชุมชนของตนเอง อย่างมีข้อมูล (2) 2. เพื่อรวบรวมปัญหาที่มีในชุมชน ให้มีหลักเกณฑ์ในทางระบาดวิทยา ลดหรือป้องกันการเจ็บป่วยในอนาคต (3) 3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงหรือเจ็บได้รับการดูแล ในครอบครัว ชุมชน หรือทีมหมอครอบครัว
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ค้นหาผู้มีจิตอาสา ผู้นำเข้ารับการอบรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างแผนที่ความเสี่ยง หมู่4,5,8 และ 9 ตำบลนาทอน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5294-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประพันธุ์ สันมาหมีนผอ.รพ.สต.บ้านวังตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......