โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ”
ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
อสม.หมู่ที่8
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5293-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5293-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากรายงานขององค์การอนามัยโลก มีรายงานการคลอดจากแม่วัยรุ่นอายุ ๑๕-๑๙ ปี ร้อยละ ๑๑ ของการคลอดทั้งหมด และร้อยละ ๙๕ เกิดขึ้นในประเทศที่มีรายได้ระดับต่ำถึงปานกลาง ภาพรวมทั่วโลกพบว่าการคลอดจากแม่วัยรุ่นอายุ ๑๕-๑๙ ปีลดลง แต่ไม่ได้ลดลงมากนักเนื่องจากประชากรบางประเทศอัตราการเจริญพันธุ์ในวัยอื่นน้อยลง วัยรุ่นส่วนมากมีเพศสัมพันธ์ระหว่างอายุ ๑๕-๑๙ ปี ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง อัตราคุมกำเนิดในวัยรุ่นค่อนข้างต่ำ อัตราการคลอดในหญิงที่มีระดับการศึกษาน้อย จะสูงกว่าผู้หญิงที่มีระดับการศึกษาสูงกว่า นอกจากอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่เพิ่มขึ้น วัยรุ่นยังมีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการสุขภาพ เนื่องจากในหลายประเทศมีกฎหมายห้ามไม่ให้ผู้ที่มีอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี เข้าถึงบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ โดยต้องได้รับการยินยอมจากผู้ปกครองและคู่สมรส ปัญหาเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของทารกในครรภ์ ได้แก่ การคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ และภาวะขาดออกซิเจนระยะแรกเกิดเป็นต้น นอกจากนี้วัยรุ่นหญิงที่ตั้งครรภ์มักดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ ส่งผลให้เกิดการตายคลอดของทารก น้ำหนักแรกเกิดน้อย และปัญหาสุขภาพอื่นๆ (สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต, (๒๕๕๗), คู่มือแนวทางการดูแลแม่วัยรุ่น)
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่ละเอียดซับซ้อน การดำเนินการในการป้องกันปัญหานี้มุ่งเน้นให้วัยรุ่นมีการเสริมสร้างทักษะชีวิต สังคม การเรียนรู้เรื่องเพศศึกษา การคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพและเข้าถึงได้ผู้ปกครองและความอบอุ่น ความเข้าใจของครอบครัวมีความสำคัญต่อการเกิดปัญหาและการป้องกันการตั้งครรภ์ ถ้าพ่อแม่ผู้ปกครองเข้าใจธรรมชาติของวัยรุ่น มีความเข้าใจและรู้จักสังเกตพฤติกรรมของวัยรุ่นและการรู้จักสื่อสารในเรื่องเพศและเรื่องธรรมชาติของวัยรุ่น เป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้วัยรุ่นมีการปรับตัวและมีทักษะชีวิตที่ดี และมีพ่อแม่เป็นที่ปรึกษา
สถานการณ์การปัญหาวัยรุ่นในหมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลมีปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และมีปัญหาวัยรุ่นติดยาเสพติด ของจังหวัดสตูล ต้องอาศัยพ่อแม่ผู้ปกครองที่มีความรู้ความเข้าใจวัยรุ่นและลูกหลานของตนเอง เพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับวัยรุ่นในชุมชนมาเป็นผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดความรู้ที่ถูกต้อง รวมถึงการสร้างความรัก ความเข้าใจระหว่างครอบครัวและบุตรหลาน ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการโครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขึ้น โดยมีกิจกรรมหลัก คือ จัดกิจกรรมโครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นหมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันเรื่องเพศ และความแตกต่างในมิติหญิงชายระหว่างเด็ก(อายุ ๑๒-๑๕ ปี)และผู้ปกครอง
- เพื่อเสริมสร้างการสื่อสารเรื่องเพศอย่างมีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะระหว่างเด็กกับผู้ปกครอง
- เพื่อสร้างศักยภาพของพ่อแม่ผู้ปกครองให้สามารถเป็นที่ปรึกษาในกลุ่มวัยรุ่นและบุตรหลานของตนเองได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ ผู้เข้าร่วมโครงการความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันเรื่องเพศ และความแตกต่างในมิติหญิงชายระหว่างเด็กและผู้ปกครอง
๒ เสริมสร้างการสื่อสารเรื่องเพศอย่างมีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะระหว่างเด็กกับผู้ปกครอง
๓ พ่อแม่ผู้ปกครองให้สามารถเป็นที่ปรึกษาในกลุ่มวัยรุ่นและบุตรหลานของตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันเรื่องเพศ และความแตกต่างในมิติหญิงชายระหว่างเด็ก(อายุ ๑๒-๑๕ ปี)และผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐
0.00
2
เพื่อเสริมสร้างการสื่อสารเรื่องเพศอย่างมีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะระหว่างเด็กกับผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมโครงการ
0.00
3
เพื่อสร้างศักยภาพของพ่อแม่ผู้ปกครองให้สามารถเป็นที่ปรึกษาในกลุ่มวัยรุ่นและบุตรหลานของตนเองได้
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและสามารถสื่อสารในเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ได้เหมาะสม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
60
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันเรื่องเพศ และความแตกต่างในมิติหญิงชายระหว่างเด็ก(อายุ ๑๒-๑๕ ปี)และผู้ปกครอง (2) เพื่อเสริมสร้างการสื่อสารเรื่องเพศอย่างมีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะระหว่างเด็กกับผู้ปกครอง (3) เพื่อสร้างศักยภาพของพ่อแม่ผู้ปกครองให้สามารถเป็นที่ปรึกษาในกลุ่มวัยรุ่นและบุตรหลานของตนเองได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5293-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( อสม.หมู่ที่8 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ”
ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
อสม.หมู่ที่8
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5293-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5293-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากรายงานขององค์การอนามัยโลก มีรายงานการคลอดจากแม่วัยรุ่นอายุ ๑๕-๑๙ ปี ร้อยละ ๑๑ ของการคลอดทั้งหมด และร้อยละ ๙๕ เกิดขึ้นในประเทศที่มีรายได้ระดับต่ำถึงปานกลาง ภาพรวมทั่วโลกพบว่าการคลอดจากแม่วัยรุ่นอายุ ๑๕-๑๙ ปีลดลง แต่ไม่ได้ลดลงมากนักเนื่องจากประชากรบางประเทศอัตราการเจริญพันธุ์ในวัยอื่นน้อยลง วัยรุ่นส่วนมากมีเพศสัมพันธ์ระหว่างอายุ ๑๕-๑๙ ปี ในผู้ชายมากกว่าผู้หญิง อัตราคุมกำเนิดในวัยรุ่นค่อนข้างต่ำ อัตราการคลอดในหญิงที่มีระดับการศึกษาน้อย จะสูงกว่าผู้หญิงที่มีระดับการศึกษาสูงกว่า นอกจากอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่เพิ่มขึ้น วัยรุ่นยังมีอุปสรรคในการเข้าถึงบริการสุขภาพ เนื่องจากในหลายประเทศมีกฎหมายห้ามไม่ให้ผู้ที่มีอายุต่ำกว่า ๑๘ ปี เข้าถึงบริการสุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ โดยต้องได้รับการยินยอมจากผู้ปกครองและคู่สมรส ปัญหาเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของทารกในครรภ์ ได้แก่ การคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่าเกณฑ์ และภาวะขาดออกซิเจนระยะแรกเกิดเป็นต้น นอกจากนี้วัยรุ่นหญิงที่ตั้งครรภ์มักดื่มแอลกอฮอล์และสูบบุหรี่ ส่งผลให้เกิดการตายคลอดของทารก น้ำหนักแรกเกิดน้อย และปัญหาสุขภาพอื่นๆ (สถาบันราชานุกูล กรมสุขภาพจิต, (๒๕๕๗), คู่มือแนวทางการดูแลแม่วัยรุ่น)
ปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเป็นปัญหาที่ละเอียดซับซ้อน การดำเนินการในการป้องกันปัญหานี้มุ่งเน้นให้วัยรุ่นมีการเสริมสร้างทักษะชีวิต สังคม การเรียนรู้เรื่องเพศศึกษา การคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพและเข้าถึงได้ผู้ปกครองและความอบอุ่น ความเข้าใจของครอบครัวมีความสำคัญต่อการเกิดปัญหาและการป้องกันการตั้งครรภ์ ถ้าพ่อแม่ผู้ปกครองเข้าใจธรรมชาติของวัยรุ่น มีความเข้าใจและรู้จักสังเกตพฤติกรรมของวัยรุ่นและการรู้จักสื่อสารในเรื่องเพศและเรื่องธรรมชาติของวัยรุ่น เป็นปัจจัยสำคัญที่จะช่วยให้วัยรุ่นมีการปรับตัวและมีทักษะชีวิตที่ดี และมีพ่อแม่เป็นที่ปรึกษา
สถานการณ์การปัญหาวัยรุ่นในหมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูลมีปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และมีปัญหาวัยรุ่นติดยาเสพติด ของจังหวัดสตูล ต้องอาศัยพ่อแม่ผู้ปกครองที่มีความรู้ความเข้าใจวัยรุ่นและลูกหลานของตนเอง เพื่อช่วยกันแก้ไขปัญหาให้กับวัยรุ่นในชุมชนมาเป็นผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ และถ่ายทอดความรู้ที่ถูกต้อง รวมถึงการสร้างความรัก ความเข้าใจระหว่างครอบครัวและบุตรหลาน ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการโครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ ขึ้น โดยมีกิจกรรมหลัก คือ จัดกิจกรรมโครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นหมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันเรื่องเพศ และความแตกต่างในมิติหญิงชายระหว่างเด็ก(อายุ ๑๒-๑๕ ปี)และผู้ปกครอง
- เพื่อเสริมสร้างการสื่อสารเรื่องเพศอย่างมีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะระหว่างเด็กกับผู้ปกครอง
- เพื่อสร้างศักยภาพของพ่อแม่ผู้ปกครองให้สามารถเป็นที่ปรึกษาในกลุ่มวัยรุ่นและบุตรหลานของตนเองได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ ผู้เข้าร่วมโครงการความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันเรื่องเพศ และความแตกต่างในมิติหญิงชายระหว่างเด็กและผู้ปกครอง ๒ เสริมสร้างการสื่อสารเรื่องเพศอย่างมีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะระหว่างเด็กกับผู้ปกครอง ๓ พ่อแม่ผู้ปกครองให้สามารถเป็นที่ปรึกษาในกลุ่มวัยรุ่นและบุตรหลานของตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันเรื่องเพศ และความแตกต่างในมิติหญิงชายระหว่างเด็ก(อายุ ๑๒-๑๕ ปี)และผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : มีผู้เข้าร่วมโครงการไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๘๐ |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อเสริมสร้างการสื่อสารเรื่องเพศอย่างมีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะระหว่างเด็กกับผู้ปกครอง ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมโครงการ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อสร้างศักยภาพของพ่อแม่ผู้ปกครองให้สามารถเป็นที่ปรึกษาในกลุ่มวัยรุ่นและบุตรหลานของตนเองได้ ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจและสามารถสื่อสารในเรื่องเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ได้เหมาะสม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 60 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ตรงกันเรื่องเพศ และความแตกต่างในมิติหญิงชายระหว่างเด็ก(อายุ ๑๒-๑๕ ปี)และผู้ปกครอง (2) เพื่อเสริมสร้างการสื่อสารเรื่องเพศอย่างมีความละเอียดอ่อนเชิงเพศภาวะระหว่างเด็กกับผู้ปกครอง (3) เพื่อสร้างศักยภาพของพ่อแม่ผู้ปกครองให้สามารถเป็นที่ปรึกษาในกลุ่มวัยรุ่นและบุตรหลานของตนเองได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการสื่อสารเรื่องเพศและอนามัยวัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่นสำหรับผู้ปกครองเพื่อครอบครัวอบอุ่นและป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น หมู่ที่ ๘ บ้านควนตำเสา ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5293-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( อสม.หมู่ที่8 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......