กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสร้างทักษะการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีแก่พ่อแม่ผู้ปกครอง ”
ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.บ้านคีรรีวง




ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสร้างทักษะการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีแก่พ่อแม่ผู้ปกครอง

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5293-1-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสร้างทักษะการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีแก่พ่อแม่ผู้ปกครอง จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสร้างทักษะการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีแก่พ่อแม่ผู้ปกครอง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสร้างทักษะการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีแก่พ่อแม่ผู้ปกครอง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหว้า อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5293-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,660.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหว้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเจริญเติบโตของเด็ก ในช่วงอายุ 0-5 ปีเป็นช่วงระยะสำคัญที่สุดของการสร้างรากฐานชีวิตและจิตใจของมนุษย์ ร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างเร็ว และสมองของเด็กก็เจริญเติบโตสูงสุดในช่วงวัยนี้ด้วย ซึ่งการการประเมินพัฒนาการเด็ก โดยใช้แบบประเมินการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย(DSPM)ในกลุ่มอายุ 9,18,30 และ42 เดือน ปีงบประมาณ 2558-2560 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคีรีวง ตำบลทุ่งหว้า พบว่า เด็กมีพัฒนาล่าช้า ร้อยละ 22,25 และ28 ตามลำดับ ซึ่งบ่งบอกว่า มีเด็กจำนวนหนึ่งที่มีพัฒนาไม่เป็นไปตามวัย จะต้องเข้าไปดำเนินการแก้ไข กระตุ้น เพื่อให้เด็กมีพัฒนาการดีขึ้นภายใน 30 วัน เพราะพัฒนาการเป็นสิ่งที่บ่งบอกเกี่ยวกับความสามารถของเด็กนั้น ถ้าเด็กมีความสามารถที่เหมาะสมกับวัย ก็จะทำให้เด็กสามารถพัฒนาจากวัยหนึ่งไปสู่อีกวัยหนึ่งได้อย่างเหมาะสม มีการเจริญเติบโตที่ดีและมีพัฒนาการสมวัย จะเป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพดีตลอดชีวิต ซึ่งรูปแบบการกระตุ้นสามารถทำได้ทั้งโดยเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร และผู้ปกครองเด็ก เพียงแต่ต้องเข้าใจคู่มือการกระตุ้นเท่านั้น ซึ่งรูปแบบการกระตุ้นสามารถทำได้ทั้งโดยเจ้าหน้าที่ และผู้ปกครองเด็ก เพียงแต่ต้องเข้าใจคู่มือการกระตุ้นเท่านั้นในการประเมินพัฒนาการของเด็กอายุ 0- 5 ปี เด็กแต่ละคนต้องได้รับการประเมิน 4 ครั้ง คือเมื่ออายุครบ 9,18,30 และ42 เดือน จะแบ่งการประเมินออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว ด้านภาษา ด้านสังคม ด้านการปรับตัว การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ จากการที่ในช่วงอายุดังกล่าวเด็กจะมีความใกล้ชิดกับครอบครัวเป็นส่วนใหญ่ การเสริมสร้างทักษะให้แก่ผู้ปกครองในการประเมินพัฒนาการเด็ก จะทำให้สามารถพบความผิดปกติ และแก้ไขได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งสอดคล้องกับคำกล่าวที่ว่า”ต้นน้ำดี ปลายน้ำก็จะดีไปด้วย” โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคีรีวง ตำบลทุ่งหว้า ได้จัดทำโครงการเสริมสร้างทักษะการประเมินพัฒนาการเด็ก0-5 ปีแก่พ่อแม่ผู้ปกครองขึ้น เพื่อให้เกิดความตระหนัก เห็นความสำคัญในการเมินสุขภาพและพัฒนาการเด็กโดยให้พ่อแม่ผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วม ทั้งนี้เนื่องจากว่าผลจากการประเมินสุขภาพและพัฒนาการเด็ก ก็คือ การนำข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพและพัฒนาการมาสรุปเพื่อ ตัดสินใจจัดการดูแลรักษา จัดประสบการณ์ให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กแต่ละด้านเป็นรายบุคคล และใช้เป็น แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของเด็กแต่ละคนให้ถึงขั้นสูงสุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้พ่อ แม่ ผู้ปกครอง สามารถประเมินพัฒนาการเด็กด้วยตัวเอง
  2. เพื่อสามารถค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้อย่างรวดเร็ว
  3. เพื่อให้เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 34
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้อย่างรวดเร็ว สอดคล้องกับกลุ่มอายุ 2.เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการแก้ไข 3.พ่อ แม่ ผู้ปกครอง มีการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กร่วมกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้พ่อ แม่ ผู้ปกครอง สามารถประเมินพัฒนาการเด็กด้วยตัวเอง
ตัวชี้วัด : พ่อ แม่ ผู้ปกครองมีทักษะในการประเมินพัฒนากรเด็กได้
0.00

 

2 เพื่อสามารถค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้อย่างรวดเร็ว
ตัวชี้วัด : เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้รับการแก้ไขทันเวลาภายใน 30 วัน
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว
ตัวชี้วัด : พ่อ แม่ ผู้ปกครองและเจ้าหน้าที่มีการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กร่วมกัน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 34
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 34
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้พ่อ แม่ ผู้ปกครอง สามารถประเมินพัฒนาการเด็กด้วยตัวเอง (2) เพื่อสามารถค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าได้อย่างรวดเร็ว (3) เพื่อให้เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการแก้ไขอย่างรวดเร็ว

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสร้างทักษะการประเมินพัฒนาการเด็ก 0-5 ปีแก่พ่อแม่ผู้ปกครอง จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 61-L5293-1-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( รพ.สต.บ้านคีรรีวง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด