กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด


“ โครงการการป้องกันโรคติดต่อโดยแมลง ปี 2561 ”

ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอานูวา ยูโซ๊ะ

ชื่อโครงการ โครงการการป้องกันโรคติดต่อโดยแมลง ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการป้องกันโรคติดต่อโดยแมลง ปี 2561 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการป้องกันโรคติดต่อโดยแมลง ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการป้องกันโรคติดต่อโดยแมลง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบัน โรคติดต่อเป็นปัญหาสาธารณสุขที่คุกคามต่อสุขภาพของคนทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ การเมือง และทำให้เกิดความโกลาหลของประชาชนในบริเวณที่มีการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างมาก ซึ่งนอกจากโรคติดต่อประจำฤดูกาลหรือโรคติดต่อที่พบได้ในพื้นที่แล้ว ยังรวมไปถึงโรคติดต่ออุบัติใหม้ อุบัติซ้ำด้วย อำเภอธารโต มีโรคติดต่อที่สำคัญได้แก่ โรคติดต่อนำโดยแมลงที่พบในพื้นที่ คือ โรคมาลาเรีย และโรคไข้เลือดออก จากสถิติ 3 ปี ย้อนหลัง(ปี 2559-2560)พบอัตราป่วย โรคมาลาเรีย 3,594.63 , 2,054.07 และ 194.51 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ ปละพบแัตราป่วย โรคไข้เลือดออก 136.16 , 23.34 และ 11.67 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จากอัตราป่วยโรคมาลาเรียและโรคไข้เลือดออกออกพบว่า มีแนวโน้มลดลง เนื่องจากช่วงปีที่ผ่านมา เครือข่ายอำเภอธารโตได้ร่วมกันวางแผนและดำเนินการแก้ไขปัญหาการดำเนินงาน โดยเน้นการพัฒนากิจกรรมควบคุมโรคที่ต้องทำให้มีประสิทธิภาพ เช่น การพ่นหมอกควันบ้านผู้ป่วย และพื้นที่ระบาด การพ่นสารเคมีตกค้่างในพื้นที่ระบาดต่อเนื่องการพัฒนาคุณภาพการให้บริการแบบ one stop srevice ใน รพ.สต. ทุกแห่งเป็นต้น ซึ่งกิจกรรมดังกล่าว เป็นกิจกรรมที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการระบาดในพื้นที่ที่มีปัจจัยเสี่ยง นอกจากนี้ยังมีโรคติดต่ออื่นๆที่ต้องเฝ้าระวังในพื้นที่ เช่น โรคติดต่ออุบัติใหม่อุบัติซ้ำ โรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัควีนเป็นต้น โดยกลยุทธ์สำคัญในการดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อ คือการส่งเสริม ป้องกันก่อนเกิดการระบาดการควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพลดการแพร่เชื้อ และการฟื้นฟูผู้ป่วยเพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ จากความสำคัญดังกล่าว งานระบาดวิทยาและการควบคุมโรคโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคอกช้าง จึงได้จัดทำโครงการ การป้องกันการเกิดโรคติดต่อ ปี 2561 เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดโรคติดต่อในพื้นที่ และลดอัตราป่วยของโรคติดต่อในพื้นที่ นำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนในพื้นที่ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 2.เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคติดต่อได้ด้วยตนเอง 3.เพื่อเป้นการเฝ้าระวัง ป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่อื่น 4.เพื่อลดอัตรการป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    การดำเนินงานป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อในอำเภอธารโต เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย เกิดกระแสการรงณงค์การควบคุมโรค ร่วมกับการสร้างเสริมสุขภาพ ประชาชนสามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้อย่างมีคุณภาพสามารถลดอัตราป่วยด้วยโรตติดต่อในพื้นที่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 2.เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคติดต่อได้ด้วยตนเอง 3.เพื่อเป้นการเฝ้าระวัง ป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่อื่น 4.เพื่อลดอัตรการป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่
    ตัวชี้วัด : 1.ครัวเรือนในชุมชนพื้นที่ระบาด A1 และ A2 ได้รับการพ่นสารเคมีตกค้างตามแผนร้อยบะ 80และสามารถดำเนินการได้ 2.สถานบริการในเครือข่ายมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ Big cleaning โรคติดต่อ ร้อยละ 100 3.ครัวเรือนบริเวณบ้านผู้ป่วยโรคมาลาเรียและไข้เลือดออกในระยะ 50เมตร ได้รับการพ่นหมอกควัน 4.อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่ลดลง เปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อในพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 2.เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนสามารถป้องกันโรคติดต่อได้ด้วยตนเอง 3.เพื่อเป้นการเฝ้าระวัง ป้องกัน การแพร่ระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่อื่น 4.เพื่อลดอัตรการป่วยด้วยโรคติดต่อในพื้นที่

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

    1.สภาพพื้นที่ที่เอื้อต่อการเพาะเชื้อมาลาเรีย 2.การดำเนิงานต้องมีการปรับเปลี่ยนอยู่บ่อยครั้ง เพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์โรค 3.พบการระบาดของโรคติดต่อชนิดอื่น เช่น โรคหัด เลปโตสไปโรสิส ฉิคุณกุนยา มือเท้าปากจึงจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนการดำเนินงานด้านงบประมาณมากขึ้น

     

     


    โครงการการป้องกันโรคติดต่อโดยแมลง ปี 2561 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอานูวา ยูโซ๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด