กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด


“ โครงการมาลาเรียร้ายพชิตได้ด้วยมือเรา ”

ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอดิศร ซา

ชื่อโครงการ โครงการมาลาเรียร้ายพชิตได้ด้วยมือเรา

ที่อยู่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 กันยายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมาลาเรียร้ายพชิตได้ด้วยมือเรา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมาลาเรียร้ายพชิตได้ด้วยมือเรา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมาลาเรียร้ายพชิตได้ด้วยมือเรา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่หวาด อำเภอธารโต จังหวัดยะลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 กันยายน 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่หวาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคที่นำโดยแมลงเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของบ้านสันติ2 ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวนยางและทำสวนผลไม้ 80% รับจ้าง 10% และอื่นๆ10% ทั้งนี้เนื่องจากสภาพภูมิประเทศเป็นหุบเขา มีฝนตกชุกตลอดทั้งปี ทำให้เอื้อต่อการเพาะพันธุ์ ของยุงก้นปล่อง ซึ่งเป็นพาหะนำเชื้อมาลาเรียมาสู่คน จึงทำให้มีการระบาดของโรคมาลาเรีย และการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคที่ผ่านมาพบว่ายังไม่ครอบคุลมซึ่งเกิดจากปัจจัยหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการที่ประชาชนไม่สามารถเข้าถึงการตรวจวินิจฉัย ขาดความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมที่ดีต่อการป้องกันตนเองจากไข้มาลาเรีย และขาดแคลนวัสดุอุปกรณ์ในการคัดกรองขากการสนับสนุนน้ำมันสำหรับพ่นหมอกควันนั้นล้วนเป็นอุปสรรคในการดำเนินการควบคุมโรคมาลาเรียที่ผ่านมา และพื้นที่ใกล้เคียงเขตอำเภอบันนังสตาก็มีการระบาดอย่างต่อเนื่อง       จึงเห็นสมควรดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคที่นำโดยแมลงในพื้นที่หมู่บ้านสันติ2 และหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา9 โดยใช้ความร่วมมือของประชาชนในชุมชน เป็นหลักสำคัญฯในการดำเนินการโครงการ จึงได้จัดสร้างเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพในหมู่บ้านสันติ2 และหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา9 เพื่อรองรับการระบาดของโรคที่นำโดยแมลงในชุมชนได้ทันรวดเร็วขึ้น โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนทุกฝ่าย เชื่องโยงเครื่อข่ายภาคีสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนในหมู่บ้านบ้านสันติ2 และหมู่บ้านจุฬาภรณ์พัฒนา9 มีสุขภาพแข็งแรง ห่างไกลโรคมาลาเรีย และมีการบริการสาธารณสุขที่สอดคล้องนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีตามมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด
  2. 1.เพื่อสร้างเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพในหมู่บ้านสันติ2 และจุฬาภรณ์9 2 เพื่อให้ดำเนินงานควบคุมโรคที่นำโดยแมลงมีความครอบคุลม และดำเนินการป้องกันควบคุมได้อย่างทันท่วงที 3 เพื่อให้ทราบถึงการระบาดของโรคที่นำโดยแมลงในชุมชนได้รวดเร็วขึ้น จากการจัดตั้งแกนนำส่งเสริมสุขภาพในการเตรียมรับการระบาด 4 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากโรคที่นำโดยแมลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการมาลาเรียร้ายพิชิตได้ด้วยมือเรา ปี 2561

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เกิดเครือข่าย ส่งเสริมสุขภาพใน หมู่บ้านสันติ2 และจุฬาภรณ์9 2 การดำเนินงานควบคุมโรคมาลาเรียมีความครอบคลุม และดำเนินการป้องกันควบคุมได้อย่างทันท่วงที 3 อัตราป่วยโรคไข้มาลาเรีย ลดลงจากค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากไข้มาลาเรีย
1.00 1.00

 

2 1.เพื่อสร้างเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพในหมู่บ้านสันติ2 และจุฬาภรณ์9 2 เพื่อให้ดำเนินงานควบคุมโรคที่นำโดยแมลงมีความครอบคุลม และดำเนินการป้องกันควบคุมได้อย่างทันท่วงที 3 เพื่อให้ทราบถึงการระบาดของโรคที่นำโดยแมลงในชุมชนได้รวดเร็วขึ้น จากการจัดตั้งแกนนำส่งเสริมสุขภาพในการเตรียมรับการระบาด 4 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากโรคที่นำโดยแมลง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้มาลาเรียระบาด (2) 1.เพื่อสร้างเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพในหมู่บ้านสันติ2 และจุฬาภรณ์9 2 เพื่อให้ดำเนินงานควบคุมโรคที่นำโดยแมลงมีความครอบคุลม และดำเนินการป้องกันควบคุมได้อย่างทันท่วงที 3 เพื่อให้ทราบถึงการระบาดของโรคที่นำโดยแมลงในชุมชนได้รวดเร็วขึ้น จากการจัดตั้งแกนนำส่งเสริมสุขภาพในการเตรียมรับการระบาด 4 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้และสามารถป้องกันตนเองจากโรคที่นำโดยแมลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการมาลาเรียร้ายพิชิตได้ด้วยมือเรา ปี 2561

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

การดำเนินงานด้านการควบคุมโรคโดยแมลงจะส่งผลทำให้เกิดการควบคุมที่ไม่มีปนะสิทธิภาพ เช่นการพ่นสารเคมีตกค้าง การพ่นหมอกควัน

จากการจัดอบรมแกนนำเพื่อเครือขายในการป้องกันการระบาดในพื้นที่นั้น พบว่า ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคที่นำโดยแมลง ยังขาดการใส่ใจในการปฏิบัติ เช่น การนอนในมุ้ง การจัดสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านเพื่อป้องกันลูกน้ำยุงลาย การกำจัดขยะที่ถูกวิธี นอกจากนั้นความเชื่อความเข้าใจในการรักษา ยังคงมีความเชื่อว่าเกิดจากธรรมชาติ เช่นเมื่อป่วยโดยโรคมาลาเรีย ก็จะอาศัยการกินยาสมันไพร รักษากับหมอพื้นบ้าน

ส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคที่นำโดยแมลงผ่าน 1ผู้นำชุมชน โรงเรียน มัสยิดทุกๆวันศุกร์ 2.จัดตั้งทีม SRRT ประจำหมู่บ้าน โดยผ่านการอบรม ฝึกการพ่น และรับการระบาดของโรค 3. ทำงานเชิงรุกทำความเข้าใจกับประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและให้เกิดความร่วมมือในการร่วมควบคุมโรคที่นำโดยแมลง


โครงการมาลาเรียร้ายพชิตได้ด้วยมือเรา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอดิศร ซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด