โครงการอบรมให้ความรู้ปลูกผักไร้สารพิษในชุมชน(ต่อยอด)
ชื่อโครงการ | โครงการอบรมให้ความรู้ปลูกผักไร้สารพิษในชุมชน(ต่อยอด) |
รหัสโครงการ | 60-L2978-1-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมุขภาพตำบลบ้านโคกอ้น |
วันที่อนุมัติ | 26 มกราคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 29 กันยายน 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 19,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้น |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.78,101.053place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
พืชผักเป็นพืชอาหารที่คนไทยนิยมนำ มาใช้รับประทานกันมากเนื่องจากมีคุณค่าทางอาการทั้งวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักนั้น มักจะเลือกบริโภคผักที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทำ ลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทำ ให้เกษตรกรที่ปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำ จัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เมื่อผู้ซื้อนำ มาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้เพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าว เกษตรกรจึงควรหันมา ทำ การปลูกผักปลอกภัยจากสารพิษ โดยนำ เอาวิธีการป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชหลายวิธีมาประยุกต์ใช้ร่วมกัน เป็นการทดแทนหรือลดปริมาณการใช้สารเคมีให้น้อยลง เพื่อความปลอดภัยของเกษตรกร ผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันผักที่นำมารับประทานจะได้มาจาก การซื้อจากตลาด ซึ่งเป็นผักที่สมบูรณ์ไปด้วยใบ ก้านและดอก ดูแล้วอยากที่จะนำไปทำอาหารมารับประทาน แต่ในลึกๆแล้วผักเหล่านั้นผ่านการปลูกมาอย่างไร การที่จะเลือกซื้อผักมารับประทานนั้น ควรที่จะเลือกผักที่มีใบขาด หรือเป็นรูที่แมลง ซึ่งเป็นหลักในการซื้อผัก แต่ที่จริงๆแล้วเราสามารถที่จะปลูกผักมารับประทานได้เอง โดยที่ไม่ต้องเสียงที่จะได้รับสารเคมี เพราะเราปลูกเองทำให้มีความมั่นใจที่จะรับประทาน การปลูกผักรับประทานเองแบบผักอินทรีย์ก็เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยใช้ผู้บริโภคได้รับสารอาหารที่ดี มีประโยชน์อย่างแท้จริง ในการที่จะเริ่มต้นที่จะเรียนรู้การปลูกผักด้วยตนเอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกอ้น จึงได้จัดตั้งโครงการนี้ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ อสม.และแกนนำชาวบ้าน ได้ปลูกพืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
|
||
2 | 2. เพื่อช่วยให้ อสม.และแกนนำชาวบ้าน ผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืช ทำ ให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษเหล่านี้ด้วย
|
||
3 | 3. เพื่อลดต้นทุนการผลิตของ อสม.และแกนนำชาวบ้าน ด้านค่าใช้จ่ายในการซื้อสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืช
|
||
4 | 4. เพื่อลดปริมาณการนำ เข้าสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืช
|
||
5 | 5. เพื่อช่วยให้ อสม.และแกนนำชาวบ้าน จะมีรายได้เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากผลผลิตที่ได้มีคุณภาพทำให้สามารถขายผลผลิต
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.แจ้ง อสม.อสม.และแกนนำชาวบ้าน เข้าร่วมโครงการ 2.อบรม อสม.อสม.และแกนนำชาวบ้าน ในเรื่องวิธีการปลูกผักที่ถูกต้อง 3.จัดทำแปลงส่งเสริมการปลูกผักปลอดภัยจากสารพิษ
- พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
- อสม.และแกนนำชาวบ้าน ผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ทำ ให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษเหล่านี้ด้วย
- ลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรด้านค่าใช้จ่ายในการซื้อสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืช
- ลดปริมาณการนำ เข้าสารเคมีป้องกันและกำ จัดศัตรูพืชได้
- ช่วยให้เกษตรกรจะมีรายได้เพิ่มมากขึ้น เนื่องจากผลผลิตที่ได้มีคุณภาพทำให้สามารถขายผลผลิต
- ผู้จัดทำโครงการฯ และ อสม.และแกนนำชาวบ้าน ได้รับความรู้ในด้านการปลุกผักปลอดสารพิษมากยิ่งขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 2560 11:12 น.