กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC 61) ”

ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาววิลาวัลย์นุ่นทอง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC 61)

ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3323-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มิถุนายน 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC 61) จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC 61)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC 61) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3323-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มิถุนายน 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,475.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งต้องเร่งแก้ไขเนื่องจากเป็นปัญหาหนึ่งซึ่งนำไปสู่ผลกระทบต่อสุขภาพ เศรษฐกิจและปัญหาทางจิตสังคมอย่างชัดเจนโรคที่เป็นผลกระทบจากภสวะโภชนาการเกินและโรคอ้วนต่อสุขภาพที่พบในผู้ใหญ่ได้แก่ข้อเข่าเสื่อมภาวะอัมพฤกษ์อัมพาตความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ เบาหวานไขมันในเลือดสูง มะเร็งลำไส้ โรคซึมเศร้า เป็นต้น และยังพบว่าการตายในผู้ที่อายุระหว่าง ๒๐-๗๔ ปี กว่าครึ่งหนึ่ง ซึ่งมีผลมาจาก ความอ้วน โรคหัวใจและหลอดเลือดยังเป็นสาเหตุการตายของคนทั่วโลกปีละ ๑๗ ล้านคน และมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น โดยคาดว่าในปี พ.ศ. ๒๕๖๕ ทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตจากโรคดังกล่าวประมาณ ๒๕ ล้านคน ปัญหาสุขภาพเหล่านี้ส่งผลให้เกิดการสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคเป็นภาระของครอบครัวและประเทศ นอกจากนี้ยังปรากฏว่าร้อยละ ๒ - ๘ ของค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบันเป็นค่าใช้จ่ายที่เป็นผลกระทบจากโรคอ้วน ถ้าเป็นเช่นนี้ต่อไปอีก ๑๐ ปีข้างหน้าค่าใช้จ่ยในส่วนนี้จะเพิ่มขึ้นอีกเป้นจำนวนมาก จากการสำรวจสุขภาพประชากรไทยปีล่าสุด พ.ศ. ๒๕๔๗ พบว่าประชากรในประเทศไทยที่อายุมากกว่า ๓๕ ปี มีเส้นรอบพุงเกินกำหนดประมาณ ๙.๓ ล้านคน โดยพบในเพศหญิงมากว่าเพศชาย คือ เพศหญิงอ้วยลพุง ๕๒ เปอร์เซ็น ผู้ชาย ๒๒ เปอร์เซ็นต์ คนที่มีรอบเอวเพิ่มขึ้นทุก ๕ เซนติเมตร จะมีโอกาสเป็นโรคเบาหวานเพิ่ม ๓-๕ เท่า จะเห็นว่าเอวใหญ่ขึ้นเท่าไรก็ยิ่งเจ็บป่วยและตายเร็วขึ้นเท่านั้น จากการสำรวจสภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนของกรมอนามัยปี ๒๕๕๐ พบว่าคนไทยอายุมากกว่า ๑๕ ปีขึ้นไป เพศชายมีภาวะอ้วนลงพุง ร้อยละ ๒๔ และเพศหญิงร้อยละ ๖๐ โดยพบในผู้หญิงมากกว่าชาย ถึง ๒.๕ เท่าตัว ภาวะอ้วยลงพุงส่วนใหญ่จะเกิดจากพฤติกรรมการบริโภค กรรมพันธุ์ และไม่ออกกำลังกาย ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคเรื้อรังตามมา เช่นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจท หลอดเลือดสมองและมะเร็งจากการคัดกรองภาวะสุขภาพอายุ ๓๕ ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพนาตุง ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ พบว่ามีค่าดัชนีมวลกายเกินมาตรฐานร้อยละ๓๕.๔๓ มีภาวะโรคอ้วนร้อยละ ๔๐.๓๙ และมีภาวะอ้วนรุนเเรง ร้อยละ ๑๓.๕๐ มีรอบเอวเกินมาตรฐานสูงถึงร้อยละ ๓๑.๓๗ (จากระบบคลังข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรังสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑) ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพนางตุง จึ่งจัดทำโครงการลดพุงลดโรค (DPAC ๖๑) เพื่อจัดตั้งคลินิคและให้ความรู้เกี่ยกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านโภชนาการกับการออกกำลังกาย และอารมณ์ในกลุ่มเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความตระหนักถึงความสำคัญการส่งเสริมสุขภาพ และทำกิจกรรมร่วมกันส่งผลให้ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพนางตุง มีสุขภาพดี ลดอัตราการป่วยด้วยโรคเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หลอดเลือดสมองและมะเร็ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบภาวะสุขภาพของตนเองได้
  2. ๒.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
  3. ๓.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารการออกกำลังกาย ให้สามารถลดภาวะความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดลงได้
  4. ๔.จัดตั้งคลินิค DPAC ในสถานบริการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าอหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม ผู้จัดและวิทยากร35คนจำนวน1มื้อๆ ละ25บาท
  2. เครื่องปรีแอมป์+ปรีไมค์1เครื่อง
  3. เครื่องPower Amplifier375 watt x2 8โอห์ม1เครื่อง
  4. ลำโพง12"Two-Way250w 1คู่
  5. ขาตั้งลำโพง1คู่
  6. ไมค์แบบสาย1ตัว
  7. เครื่องรับทีวีแบบLEDขนาด32" 1เครื่อง
  8. สมุดประจำตัวกลุ่มเป้าหมาย จำนวน30เล่มๆล่ะ20
  9. เครื่องเล่นDVD1เครื่อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ร้อยละของจำนวนผู้เข้าโปรแกรม บำบัดอย่าต่อเนื่อง ๒.ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่มีค่าความดัน ค่าระดับน้ำตาลในกระเเสเลือดลดลง ๓.ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลสุขภาพตนเอง ขยายผลสู่ครอบครัว ชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบภาวะสุขภาพของตนเองได้
ตัวชี้วัด : ๑.กลุ่มเป้าหมายทราบภาวะสุขภาพของตนเองร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

2 ๒.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ๒.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง ร้อยละ ๑๐๐
0.00

 

3 ๓.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารการออกกำลังกาย ให้สามารถลดภาวะความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดลงได้
ตัวชี้วัด : ๓.กลุ่มเป้าหมายสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารการออกกำลังกาย ให้สามารถลดภาวะความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดลงได้ ร้อยละ ๖๐
0.00

 

4 ๔.จัดตั้งคลินิค DPAC ในสถานบริการ
ตัวชี้วัด : ๔.มีการดำเนินกิจกรรมในคลินิค DPAC ในสถานบริการ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ทราบภาวะสุขภาพของตนเองได้ (2) ๒.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องอาหารและการออกกำลังกายที่ถูกต้อง (3) ๓.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารการออกกำลังกาย ให้สามารถลดภาวะความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดลงได้  (4) ๔.จัดตั้งคลินิค DPAC ในสถานบริการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าอหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม ผู้จัดและวิทยากร35คนจำนวน1มื้อๆ ละ25บาท (2) เครื่องปรีแอมป์+ปรีไมค์1เครื่อง (3) เครื่องPower Amplifier375 watt x2 8โอห์ม1เครื่อง (4) ลำโพง12"Two-Way250w 1คู่ (5) ขาตั้งลำโพง1คู่ (6) ไมค์แบบสาย1ตัว (7) เครื่องรับทีวีแบบLEDขนาด32" 1เครื่อง (8) สมุดประจำตัวกลุ่มเป้าหมาย จำนวน30เล่มๆล่ะ20 (9) เครื่องเล่นDVD1เครื่อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดพุง ลดโรค (DPAC 61) จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 61-L3323-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววิลาวัลย์นุ่นทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด