กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใส่ใจสุขภาพจิต พิชิตโรค ”

ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายประวิทย์ เทียบชู

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใส่ใจสุขภาพจิต พิชิตโรค

ที่อยู่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใส่ใจสุขภาพจิต พิชิตโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใส่ใจสุขภาพจิต พิชิตโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใส่ใจสุขภาพจิต พิชิตโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล สุขภาพดีไม่มีขาย ถ้าอยากได้ต้องทำเอง เชื่อแน่ว่าประโยคทองของการรณรงค์ส่งเสริมการออกกำลังกาย ประโยคนี้ย่อมไม่มีใครปฏิเสธว่าไม่เคยได้ยิน เพียงแต่จะได้นำเอาไปปฏิบัติหรือไม่นั้นเป็นสิ่งที่แล้วแต่พฤติกรรมส่วนบุคคล การส่งเสริมสุขภาพหรือHealth promotionเป็นกระบวนการที่มุ่งหวังให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพที่มีความเหมาะสมกับความต้องการของร่างกายมนุษย์
นโยบาย 6 อ. เพื่อสุขภาพที่ดี แนวทาง 6 อ. ได้แก่ ออกกำลังกาย อาหารปลอดภัย อารมณ์แจ่มใส อนามัยสิ่งแวดล้อม อโรคยา และลด ละ เลิก อบายมุขซึ่งมีแนวทางปฏิบัติดังนี้ 1. ออกกำลังกาย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงดำรัสว่า " การออกกำลังกายนั้นทำน้อยเกินไปร่างกายและจิตใจก็จะเฉาและทำมากเกินไปร่างกายและจิตใจก็จะช้ำ"
2. อาหารปลอดภัยการปฏิบัติตนที่เกี่ยวข้องกับการรับประทานอาหารให้ได้สารอาหารที่มีคุณค่าเป็นประโยชน์ต่อร่างกายในแต่ละวันให้ครบ 5 หมู่รับประทานอาหารที่ปรุงสุกสะอาด ปลอดภัยจากสารปนเปื้อน และการบริโภคอาหารให้ได้สัดส่วนที่เหมาะสม เพียงพอกับความต้องการในแต่ละวัยเพื่อพัฒนาการที่สมบูรณ์ซึ่งจะกล่าวโดยละเอียดในหัวข้อโภชนาการต่อไป 3. อารมณ์แจ่มใสการปฏิบัติตนที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการจัดการกับอารมณ์การผ่อนคลายความเครียดการจัดการกับอารมณ์เป็นสิ่งที่ต้องมีความตั้งใจด้วยตัวเราเองว่าจะปรับการแสดงออกทางอารมณ์ของตนเองไปในทางที่ดีขึ้น ซึ่งอาศัยการฝึกปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
4. อนามัยสิ่งแวดล้อมหมายถึง การจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมทั้งด้ายกายภาพเศรษฐกิจสังคม ให้เหมาะสมต่อการดูแลสุขภาพการรักษาความสะอาดสถานที่ต่างๆ ลำน้ำ คู คลอง การกำจัดขยะมูลฝอยให้ถูกสุขลักษณะการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงที่เป็นพาหะนำโรคการใช้วัสดุที่ย่อยสลายง่าย เป็นต้น 5. อโรคยาหมายถึง การไม่มีโรคการปฏิบัติตนเพื่อไม่ให้ป่วยเป็นโรคต่างๆ ทั้งโรคติดเชื้อและโรคไร้เชื้อสามารถทำได้จากการหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคเช่นเชื้อโรคต่างๆ โดยได้รับวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อบางชนิด หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรือหายใจ หรือการรับประทานอาหารที่มีเชื้อโรคปนเปื้อนการตรวจสุขภาพประจำปีการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมการแสวงหาความรู้และข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพใหม่ๆ เสมอ ทั้งนี้ในการรับข้อมูลข่าวสารจะต้องพิจารณาถึงความถูกต้องน่าเชื่อถืออย่าหลงเชื่อคำโฆษณาที่เป็นเท็จเกินความเป็นจริงการเสริมสร้างภูมิต้านทานให้แข็งแรงเป็นต้น 6. อบายมุขหมายถึงหนทางที่นำไปสู่ความเสื่อมเสีย เป็นเหตุให้เกิดการสูญเสียทรัพย์ตามหลักพระพุทธศาสนาอบายมุข 6 ประกอบด้วยการดื่มน้ำเมาการเที่ยวการคืนการดูการละเล่นการเล่นการพนันการคบคนชั่วเป็นมิตรและการเกียจคร้านการทำงานการเข้าไปเกี่ยวข้องกับอบายมุขจะก่อให้เกิดปัญหาต่างๆมากมายในการดำเนินชีวิตสุขภาพไม่ดี ขาดความสุขเช่นการดื่มน้ำเมาเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคโรคมะเร็งตับโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์การขาดการพักผ่อน ร่างกายอ่อนเพลียเกิดอุบัติเหตุเป็นต้นรวมถึงปัญหาทางด้านสุขภาพจิตและปัญหาสังคมด้วย จะเห็นได้ว่าการเล่นกีฬานอกจากจะเป็นกิจกรรมหนึ่งของการแข่งขันแล้ว กีฬาเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ กีฬาวู้ดบอลนับว่าเป็นกีฬาชนิดใหม่ที่ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก แต่ก็ได้รับความสนใจจากประชาชนทุกเพศทุกวัย เป็นที่ทราบโดยทั่วไปว่ากีฬาวู้ดบอลเป็นกีฬาที่นอกจากจะช่วยเสริมสร้างและรักษาสมรรถภาพทางกายที่ดีแล้ว ยังเป็นกีฬาที่ส่งเสริมการฝึกสมาธิเพื่อรวบรวมใจให้เป็นหนึ่งเดียวกับลูกวู้ดบอล ซึ่งการทำกิจกรรมร่วมกันในชุมชนจะช่วยคลายความเครียดและสร้างความสุขเล็กๆ น้อยๆ ให้แก่ตนเองได้ในทุกที่ทุกเวลา ซึ่งไม่เพียงแต่จะเป็นการช่วยให้สุขภาพจิตถูกชักจูงไปในทางที่ดีเท่านั้น แต่สุขภาพกายก็พลอยแข็งแรงตามไปด้วยอีกต่างหาก ชมรมกีฬาวู้ดบอลตำบลบ้านโพธิ์ ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพของประชาชนในตำบลบ้านโพธิ์ทุกคน เพื่อให้ครบทุกกลุ่มเป้าหมาย คนสามวัยได้แก่ เด็ก เยาวชน และประชากรวัยทำงานที่มีเวลาว่างในการออกกำลังกายน้อยและมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคที่เรียกว่า "ภัยเงียบ" ในอัตราที่สูงขึ้น โดยเฉพาะผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใส่ใจสุขภาพจิต พิชิตโรค นี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขภาพและกระตุ้นให้ประชาชนในตำบลบ้านโพธิ์ หันมาใส่ใจดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัวอย่างจริงจัง ลดอัตราการป่วยที่เกิดจากภัยเงียบได้อย่างถาวรมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรง และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอล
  2. จัดให้มีการออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอลอย่างต่อเนื่อง (อาทิตย์ละ 3 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง เป็นเวลา 3 เดือน รวม 72 ชั่วโมง)
  3. คัดเลือกแกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน เพื่อเป็นผู้นำออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาวู้ดบอลในชุมชน
  4. ประชาสัมพันธ์การออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอลให้เป็นที่รู้จักและสนใจมาร่วมเล่นกีฬาในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้และและจัดให้มีการออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอลอย่างต่อเนื่อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ประชาชนทุกกลุ่มอายุหันมาออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอลอย่างต่อเนื่อง
  2. ทำให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
  3. ทำให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี เกิดความสามัคคีในชุมชน
  4. เกิดแกนนำสุขภาพในชุมชน
  5. สามารถลดอัตราการเกิดโรคภัยเงียบที่มาจากวิถีชีวิต ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโรคมะเร็ง หัวใจ หลอดเลือดสมองและโรคอ้วน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ทำให้ประชาชนทุกกลุ่มอายุหันมาออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอลอย่างต่อเนื่อง
  2. ทำให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
  3. ทำให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดี เกิดความสามัคคีในชุมชน
  4. เกิดแกนนำสุขภาพในชุมชน
  5. สามารถลดอัตราการเกิดโรคภัยเงียบที่มาจากวิถีชีวิต ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดัน โรคมะเร็ง หัวใจ หลอดเลือดสมองและโรคอ้วน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอล
ตัวชี้วัด :
0.00 55.00

 

2 จัดให้มีการออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอลอย่างต่อเนื่อง (อาทิตย์ละ 3 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง เป็นเวลา 3 เดือน รวม 72 ชั่วโมง)
ตัวชี้วัด :
0.00 58.00

 

3 คัดเลือกแกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน เพื่อเป็นผู้นำออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาวู้ดบอลในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00 10.00

 

4 ประชาสัมพันธ์การออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอลให้เป็นที่รู้จักและสนใจมาร่วมเล่นกีฬาในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) อบรมให้ความรู้การออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอล (2) จัดให้มีการออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอลอย่างต่อเนื่อง (อาทิตย์ละ 3 วันๆ ละ 2 ชั่วโมง เป็นเวลา 3 เดือน รวม 72 ชั่วโมง) (3) คัดเลือกแกนนำสุขภาพประจำหมู่บ้าน เพื่อเป็นผู้นำออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาวู้ดบอลในชุมชน (4) ประชาสัมพันธ์การออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอลให้เป็นที่รู้จักและสนใจมาร่วมเล่นกีฬาในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และและจัดให้มีการออกกำลังกายด้วยกีฬาวู้ดบอลอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพกาย ใส่ใจสุขภาพจิต พิชิตโรค จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประวิทย์ เทียบชู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด