โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้น
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2978-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L2978-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายของทุกประเทศทั่วโลก ซึ่งแต่ละปีจะมีผู้ป่วนโรคมะเร็งรายใหม่ประมาณ ๑๑ ล้านคนและตายจากโรคมะเร็ง ๗ ล้านคน โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกสามารถดูแลป้องกันรักษาได้ในระยะแรกการป้องที่ดีที่สุดคือการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด ดังนั้นการให้ความรู้ การสร้างความตระหนักการกระตุ้นให้เกิดการดูแลและการป้องกันตนเองในระยะแรกเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนลดอัตราป่วยและอัตราตายของสตรีจากโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก
ในประเทศไทย โรคมะเร็งปามดลูกเป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดระหว่างอายุ 45-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด 5 ปี ประมาณร้อยละ 60 จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนวนมาก คาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่และรายเก่าที่ต้องติดตามทำการดูแลรักษาอยู่ไม่น้อยกว่า 60,000 คนทั่วประเทศ แต่อัตราการอยู่รอด 5 ปี จะดีขึ้นถ้าพบในระยะเริ่มแรก
จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกอ้น ตรวจปีพ.ศ.2559 จำนวน 149 ราย ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่น้อยมาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้น เห็นความสำคัญในการป้องกันมากกว่าการรักษาโรคโดยเฉพาะการตรวจคัดกรองค้นหาโรคระยะแรกในสตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถลดอัตราอุบัติการณ์มะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกรายใหม่ได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้น จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก ขึ้นโดยเน้นการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองหามะเร็งปากมดลูกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อรณรงค์ให้ความรู้มะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เป้าหมาย
- 2. สตรีอายุ ๓5 ปีขึ้นไป ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลาการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน 362 ราย
- 3. สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาCell ผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 จำนวน ๑57 ราย
- 4. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ สตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลาการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน 36
๒ สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาCellผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4๐ จำนวน 157 ราย
3 สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สตรีอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านม ด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลาการสาธารณสุขไม้น้อยกว่า 80 จำนวน 362 ราย
สตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหา cell ผิดปกติของปกมดลุก ไม้น้อยกว่าร้อยละ 40 จำนวน 157 ราย
สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อรณรงค์ให้ความรู้มะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เป้าหมาย
ตัวชี้วัด :
2
2. สตรีอายุ ๓5 ปีขึ้นไป ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลาการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน 362 ราย
ตัวชี้วัด :
3
3. สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาCell ผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 จำนวน ๑57 ราย
ตัวชี้วัด :
4
4. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อรณรงค์ให้ความรู้มะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เป้าหมาย (2) 2. สตรีอายุ ๓5 ปีขึ้นไป ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลาการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน 362 ราย (3) 3. สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาCell ผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 จำนวน ๑57 ราย (4) 4. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2978-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้น
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2978-1-08 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L2978-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายของทุกประเทศทั่วโลก ซึ่งแต่ละปีจะมีผู้ป่วนโรคมะเร็งรายใหม่ประมาณ ๑๑ ล้านคนและตายจากโรคมะเร็ง ๗ ล้านคน โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกสามารถดูแลป้องกันรักษาได้ในระยะแรกการป้องที่ดีที่สุดคือการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุด ดังนั้นการให้ความรู้ การสร้างความตระหนักการกระตุ้นให้เกิดการดูแลและการป้องกันตนเองในระยะแรกเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพตลอดจนลดอัตราป่วยและอัตราตายของสตรีจากโรคมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก ในประเทศไทย โรคมะเร็งปามดลูกเป็นมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดระหว่างอายุ 45-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม อัตราการอยู่รอด 5 ปี ประมาณร้อยละ 60 จึงมีผู้ป่วยสะสมจำนวนมาก คาดประมาณว่าจะมีผู้ป่วยรายใหม่และรายเก่าที่ต้องติดตามทำการดูแลรักษาอยู่ไม่น้อยกว่า 60,000 คนทั่วประเทศ แต่อัตราการอยู่รอด 5 ปี จะดีขึ้นถ้าพบในระยะเริ่มแรก จากการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกอ้น ตรวจปีพ.ศ.2559 จำนวน 149 ราย ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่น้อยมาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้น เห็นความสำคัญในการป้องกันมากกว่าการรักษาโรคโดยเฉพาะการตรวจคัดกรองค้นหาโรคระยะแรกในสตรีกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นวิธีหนึ่งที่สามารถลดอัตราอุบัติการณ์มะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูกรายใหม่ได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้น จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม/มะเร็งปากมดลูก ขึ้นโดยเน้นการให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคมะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองหามะเร็งปากมดลูกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อรณรงค์ให้ความรู้มะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เป้าหมาย
- 2. สตรีอายุ ๓5 ปีขึ้นไป ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลาการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน 362 ราย
- 3. สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาCell ผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 จำนวน ๑57 ราย
- 4. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑ สตรีอายุ ๓๐-๗๐ ปี ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลาการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน 36
๒ สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาCellผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4๐ จำนวน 157 ราย
3 สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สตรีอายุ 30-70 ปี ตรวจเต้านม ด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลาการสาธารณสุขไม้น้อยกว่า 80 จำนวน 362 ราย สตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหา cell ผิดปกติของปกมดลุก ไม้น้อยกว่าร้อยละ 40 จำนวน 157 ราย สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อรณรงค์ให้ความรู้มะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เป้าหมาย ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. สตรีอายุ ๓5 ปีขึ้นไป ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลาการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน 362 ราย ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาCell ผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 จำนวน ๑57 ราย ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อรณรงค์ให้ความรู้มะเร็งเต้านมและตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่สตรีกลุ่มเป้าหมายในชุมชน เป้าหมาย (2) 2. สตรีอายุ ๓5 ปีขึ้นไป ตรวจเต้านมด้วยตนเองและผ่านการประเมินทักษะการตรวจเต้านมจากบุคลาการสาธารณสุขไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ จำนวน 362 ราย (3) 3. สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเพื่อค้นหาCell ผิดปกติของปากมดลูก ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 จำนวน ๑57 ราย (4) 4. สตรีที่ตรวจพบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาจากแพทย์ทุกราย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์คัดกรองมะเร็งเต้านม / มะเร็งปากมดลูก จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2978-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......