กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการตำบลคลองแหปลอดยาเสพติด ประจำปี 2561 ”
ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายคทาวุฒิ พิมพ์ศักดิ์ ปลัดอำเภอหาดใหญ่ และ นางพรทิพย์ จันทร์ศิริ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคลองแห




ชื่อโครงการ โครงการตำบลคลองแหปลอดยาเสพติด ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7255-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการตำบลคลองแหปลอดยาเสพติด ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลคลองแหปลอดยาเสพติด ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการตำบลคลองแหปลอดยาเสพติด ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2561-L7255-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 432,300.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พื้นที่ตำบลคลองแหเป็นชุมชนกึ่งเมืองกึ่งชนบทในชุมชนเมืองจะมีประชาชนอาศัยกันหนาแน่นและมีประชากรแฝงเป็นจำนวนมากปัจจุบันพบว่าปัญหายาเสพติดได้แพร่ระบาดเข้าสู่พื้นที่ชุมชน โรงเรียน สถานประกอบการและสถานที่ราชการโดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น เยาวชน นักเรียน นักศึกษา ตลอดจนกลุ่มวัยทำงานซึ่งมีแนวโน้มจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหาทางสังคมในทุกๆ ด้าน จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดำเนินการแก้ไขโดยด่วนเทศบาลเมืองคลองแหในฐานะหน่วยงานราชการที่มีความใกล้ชิดประชาชนมากที่สุดและมีอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 13) พ.ศ. 2552 พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2549ประกอบกับรัฐบาลและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้ให้ความสำคัญในการดำเนินงานด้านการแก้ไขปัญหายาเสพติด เพราะปัญหาดังกล่าวได้ส่งผลกระทบต่อความสงบเรียบร้อย ตลอดจนชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน จึงมีประกาศคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ฉบับที่ 108/2557 ลงวันที่ 21 กรกฎาคม 2557 เรื่อง การปฏิบัติต่อผู้ต้องสงสัยว่ากระทำความผิดตามกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด เพื่อเข้าสู่กระบวนการบำบัดฟื้นฟูและการดูแลผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟู ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2560 เป็นต้นมา กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคลองแหได้ดำเนินโครงการชุมชนต้นแบบสุขภาพดีด้วยวิถีพอเพียงมีวัตถุประสงค์เพื่อดำเนินกิจกรรมพัฒนาเมืองคลองแหให้เป็นเมืองแห่งความสุข (Klonghaecity of Happiness) ภายใต้แนวคิด “4 ดี วิถีพอเพียง” เพื่อให้ประชาชนในทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย มีความสุข จากการเป็นคนดี มีสุขภาพดี มีรายได้ดี และมีสิ่งแวดล้อมดี และให้เมืองคลองแหเป็นเมืองแห่งความสุขแบบยั่งยืนตามแนวพระราชดำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่พระราชทานไว้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกมิติด้วยการบูรณาการทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมทำงานเทศบาลเมืองคลองแหได้น้อมนำ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพ” และยึดหลักการที่ว่า “สุขภาพดีเป็นผลจากสังคมดี” คือ สุขภาพดีเกิดจากการมีสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุขโดยถือว่าสุขภาพดีหรือสุขภาวะทางกาย ทางใจ ทางสังคม ทางจิตวิญญาณ และปัญญาของทุกคนเป็นศีลธรรมขั้นพื้นฐานของสังคม ดังนั้น อำเภอหาดใหญ่ ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติอำเภอหาดใหญ่ ร่วมกับ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมเทศบาลเมืองคลองแห โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแห เครือข่ายคณะกรรมการชุมชนเทศบาลเมืองคลองแห และเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ตำบลคลองแหจัดทำโครงการตำบลคลองแหปลอดยาเสพติดขึ้นเพื่อบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วนโดยการสร้างภาคีเครือข่ายจากภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชน ในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ แก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพตลอดจนการรณรงค์ประชาสัมพันธ์และกระตุ้นเตือนให้ทุกภาคส่วน ร่วมผนึกพลังความคิดความร่วมมือทั้งแรงกายแรงใจและเสริมสร้างศักยภาพของชุมชนให้เข้มแข็งยิ่งขึ้นเพื่อขับเคลื่อนให้พื้นที่เทศบาลเมืองคลองแหเป็น “ตำบลปลอดยาเสพติด ” อย่างแท้จริงและยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย
  2. เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
  3. เพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน
  4. เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ
  5. 1. เพื่อดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ตรวจคัดกรอง เด็ก เยาวชน ประชาชนโดยทั่วไป และบุคลากรในสังกัดเทศบาลเมืองคลองแห และจูงใจให้ผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการดูแลสร้างภูมิคุ้มกันโดยการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตลอดจนได้รับการรักษาในระยะเริ่มต้นได้อย่างทันท่วงที โดยการยินยอม 2. เพื่อจัดกิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจของผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดให้มีความเข้มแข็ง สามารถลด ละ เลิก เกี่ยวข้องกับยาเสพติดโดยเด็ดขาด และสามารถกลับไปใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างปกติสุขเหมือนบุคคลทั่วไป 3. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในรายใหม่ 4. เพื่อรณรงค์เสริมสร้าง สนับสนุน ให้ประชาชน หน่วยงานราชการ และภาคเอกชน ได้มีจิตสำนึกและเข้ามามีส่วนร่วมเป็นพลังมวลชนขับเคลื่อนให้พื้นที่ตำบลคลองแหปลอดจากยาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจคัดกรองสุ่มเสี่ยง
  2. กิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด (จำนวน 1 รุ่นๆ ละ 14 วัน ตามเอกสารแนบท้าย) ณ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด บ่อบำบัดน้ำเสียรวมเทศบาลนครหาดใหญ่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ที่ผ่านการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตและสามารถลด ละ เลิก เกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้
  2. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการช่วยเหลือในการฝึกอาชีพ และสามารถกลับไปใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างปกติสุขเหมือนบุคคลทั่วไป
  3. ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชนและสามารถลดอัตราการเกิดผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดรายใหม่
  4. สามารถประหยัดงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลและสถานพยาบาล
  5. ปัญหาทางสังคมลดลง ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนปลอดภัยจากปัญหาลักขโมย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจคัดกรองสุ่มเสี่ยง

วันที่ 23 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการในพื้นที่ชุมชนตำบลคลองแห โดยทีมชุดปฏิบัติการอำเภอหาดใหญ่เป็นผู้ดำเนินการค้นหาและตรวจคัดกรองสุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถประหยัดงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยในโรงพยาบาลและสถานพยาบาล ปัญหาทางสังคมลดลง ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนปลอดภัยจากปัญหาลักขโมย

 

60 0

2. กิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด (จำนวน 1 รุ่นๆ ละ 14 วัน ตามเอกสารแนบท้าย) ณ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด บ่อบำบัดน้ำเสียรวมเทศบาลนครหาดใหญ่

วันที่ 31 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ดำเนินการโดยทีมชุดปฏิบัติการอำเภอหาดใหญ่ ณ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด บ่อบำบัดน้ำเสียรวมเทศบาลนครหาดใหญ่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา (อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงสถานที่ได้ตามความจำเป็น)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ผู้ที่ผ่านการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตและสามารถลด ละ เลิก เกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้
-ผู้เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการช่วยเหลือในการฝึกอาชีพ และสามารถกลับไปใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างปกติสุขเหมือนบุคคลทั่วไป

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย
ตัวชี้วัด : จำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อยลดลงเหลือ(ครั้ง)
0.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)
0.00

 

3 เพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน
ตัวชี้วัด : อัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)
5.00 0.00

 

4 เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ
ตัวชี้วัด : กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำเพิ่มขึ้นเป็น(กิจกรรม)
5.00 0.00

 

5 1. เพื่อดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ตรวจคัดกรอง เด็ก เยาวชน ประชาชนโดยทั่วไป และบุคลากรในสังกัดเทศบาลเมืองคลองแห และจูงใจให้ผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการดูแลสร้างภูมิคุ้มกันโดยการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตลอดจนได้รับการรักษาในระยะเริ่มต้นได้อย่างทันท่วงที โดยการยินยอม 2. เพื่อจัดกิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจของผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดให้มีความเข้มแข็ง สามารถลด ละ เลิก เกี่ยวข้องกับยาเสพติดโดยเด็ดขาด และสามารถกลับไปใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างปกติสุขเหมือนบุคคลทั่วไป 3. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในรายใหม่ 4. เพื่อรณรงค์เสริมสร้าง สนับสนุน ให้ประชาชน หน่วยงานราชการ และภาคเอกชน ได้มีจิตสำนึกและเข้ามามีส่วนร่วมเป็นพลังมวลชนขับเคลื่อนให้พื้นที่ตำบลคลองแหปลอดจากยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 1. เพื่อดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ตรวจคัดกรอง เด็ก เยาวชน ประชาชนโดยทั่วไป และบุคลากรในสังกัดเทศบาลเมืองคลองแห และจูงใจให้ผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการดูแลสร้างภูมิคุ้มกันโดยการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตลอดจนได้รับการรักษาในระยะเริ่มต้นได้อย่างทันท่วงที โดยการยินยอม 2. เพื่อจัดกิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจของผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดให้มีความเข้มแข็ง สามารถลด ละ เลิก เกี่ยวข้องกับยาเสพติดโดยเด็ดขาด และสามารถกลับไปใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างปกติสุขเหมือนบุคคลทั่วไป 3. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในรายใหม่ 4. เพื่อรณรงค์เสริมสร้าง สนับสนุน ให้ประชาชน หน่วยงานราชการ และภาคเอกชน ได้มีจิตสำนึกและเข้ามามีส่วนร่วมเป็นพลังมวลชนขับเคลื่อนให้พื้นที่ตำบลคลองแหปลอดจากยาเสพติด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย (2) เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี (3) เพื่อลดอัตราการกลับมาเสพซ้ำของผู้ผ่านการบำบัดเมื่อคืนกลับชุมชน (4) เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด ทั้งด้านการป้องกัน การรักษาในระยะเริ่มต้น ถึงการรักษาแบบการถอนพิษยาและการดูแลไม่ให้กลับไปเสพซ้ำ (5) 1. เพื่อดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวัง ตรวจคัดกรอง เด็ก เยาวชน ประชาชนโดยทั่วไป และบุคลากรในสังกัดเทศบาลเมืองคลองแห และจูงใจให้ผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการดูแลสร้างภูมิคุ้มกันโดยการอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตลอดจนได้รับการรักษาในระยะเริ่มต้นได้อย่างทันท่วงที โดยการยินยอม 2. เพื่อจัดกิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจของผู้ที่มีแนวโน้มเป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดให้มีความเข้มแข็ง สามารถลด ละ เลิก เกี่ยวข้องกับยาเสพติดโดยเด็ดขาด และสามารถกลับไปใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างปกติสุขเหมือนบุคคลทั่วไป
3. เพื่อลดอัตราการเกิดผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติดในรายใหม่ 4. เพื่อรณรงค์เสริมสร้าง สนับสนุน ให้ประชาชน หน่วยงานราชการ และภาคเอกชน ได้มีจิตสำนึกและเข้ามามีส่วนร่วมเป็นพลังมวลชนขับเคลื่อนให้พื้นที่ตำบลคลองแหปลอดจากยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองสุ่มเสี่ยง (2) กิจกรรมอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสำหรับผู้ที่มีความเสี่ยงเป็นผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด (จำนวน 1 รุ่นๆ ละ 14 วัน ตามเอกสารแนบท้าย)  ณ ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพ/ผู้ติดยาเสพติด บ่อบำบัดน้ำเสียรวมเทศบาลนครหาดใหญ่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการตำบลคลองแหปลอดยาเสพติด ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7255-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายคทาวุฒิ พิมพ์ศักดิ์ ปลัดอำเภอหาดใหญ่ และ นางพรทิพย์ จันทร์ศิริ ผู้อำนวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคลองแห )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด