โครงการชุมชนไร้พุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนไร้พุง ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางมารีแย สาหลำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนไร้พุง
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2978-1-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนไร้พุง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนไร้พุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนไร้พุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L2978-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความทันสมัยของการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต การบริโภคอาหารไม่เหมาะสมขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและถูกวิธี ทำให้เกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรม มีอุบัติการณ์สูงขึ้นอย่างมาก เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคอ้วนลงพุง ซึ่งเกิดจากการมีไขมันสะสมโดยเฉพาะรอบเอวของผู้ชาย 90 ซม. (36″) หรือมากกว่า และรอบเอวผู้หญิง 80 ซม. (32″) หรือมากกว่า จากการสำรวจสุขภาพประชากรไทยปี 2547 พบว่าคนไทยอ้วนลงพุงเพิ่มขึ้นร้อยละ 30 และประชากรอายุมากกว่า 30 ปี 9.3 ล้านคน มีเส้นรอบเอวเกินเกณฑ์กำหนด โดยพบผู้หญิงมีอัตราเส้นรอบเอวสูงมากกว่าผู้ชาย ร้อยละ 55 และร้อยละ 22 ตามลำดับ
ที่ผ่านมาก็มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรณรงค์เรื่อง "โครงการคนไทยไร้พุง" คือกระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำยุทธศาสตร์คนไทยไร้พุงเพื่อนำพาคนไทยไปสู่การเป็นคนมีสุขภาพกายที่ดี เมื่อสุขภาพกายดีย่อมก่อให้เกิดสุขภาพใจดีด้วย เข้าตำราความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ กว่าสองปีมาแล้วที่กระทรวงสาธารณสุขได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ "ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง" ซึ่งประสานความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายโดยเฉพาะสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเสริมสร้างศักยภาพขีดความสามารถขยายไปสู่องค์กรอื่นๆ รวมทั้งภาคี เครือข่ายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคด้านอาหารโภชนาการ และการดำรงชีวิตที่ช่วยสร้างความแข็งแรงให้แก่ร่างกายทั้งภายนอกและภายในโดยการใช้แรงกายที่เหมาะสมของคนในชุมชนอันจะนำไปสู่การลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือให้ดำรงชีวิตแบบไม่มีโรคที่ถือว่าเป็นลาภอันประเสริฐนั่นเอง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้นได้เห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ“ชุมชนไร้พุง ประจำปี 2560” ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมประชาชนในพื้นที่ให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายและการดำรงชีวิตที่ปราศจาคโรคภัยไข้เจ็บและภาวะอ้วนลงพุง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักพร้อมทั้งป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรม
- 3. เพื่อให้ประชาชนรักการออกกำลังกายในการสร้างสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
- ประชาชนรู้จักป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมได้
- ประชาชนสามารถออกกำลังกายเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
ประชาชนรู้จักป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมได้
ประชาชนสามาถออกกำลังกายเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักพร้อมทั้งป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรม
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อให้ประชาชนรักการออกกำลังกายในการสร้างสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักพร้อมทั้งป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรม (3) 3. เพื่อให้ประชาชนรักการออกกำลังกายในการสร้างสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนไร้พุง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2978-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมารีแย สาหลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนไร้พุง ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางมารีแย สาหลำ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2978-1-09 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 29 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนไร้พุง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนไร้พุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนไร้พุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L2978-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 29 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ความทันสมัยของการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต การบริโภคอาหารไม่เหมาะสมขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอและถูกวิธี ทำให้เกิดโรคที่เกิดจากพฤติกรรม มีอุบัติการณ์สูงขึ้นอย่างมาก เช่น โรคมะเร็ง โรคหัวใจและโรคหลอดเลือด ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และโรคอ้วนลงพุง ซึ่งเกิดจากการมีไขมันสะสมโดยเฉพาะรอบเอวของผู้ชาย 90 ซม. (36″) หรือมากกว่า และรอบเอวผู้หญิง 80 ซม. (32″) หรือมากกว่า จากการสำรวจสุขภาพประชากรไทยปี 2547 พบว่าคนไทยอ้วนลงพุงเพิ่มขึ้นร้อยละ 30 และประชากรอายุมากกว่า 30 ปี 9.3 ล้านคน มีเส้นรอบเอวเกินเกณฑ์กำหนด โดยพบผู้หญิงมีอัตราเส้นรอบเอวสูงมากกว่าผู้ชาย ร้อยละ 55 และร้อยละ 22 ตามลำดับ ที่ผ่านมาก็มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรณรงค์เรื่อง "โครงการคนไทยไร้พุง" คือกระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำยุทธศาสตร์คนไทยไร้พุงเพื่อนำพาคนไทยไปสู่การเป็นคนมีสุขภาพกายที่ดี เมื่อสุขภาพกายดีย่อมก่อให้เกิดสุขภาพใจดีด้วย เข้าตำราความไม่มีโรคเป็นลาภอันประเสริฐ กว่าสองปีมาแล้วที่กระทรวงสาธารณสุขได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ในการสนับสนุนการดำเนินงานโครงการ "ภาคีร่วมใจคนไทยไร้พุง" ซึ่งประสานความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายโดยเฉพาะสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ เพื่อร่วมกันเสริมสร้างศักยภาพขีดความสามารถขยายไปสู่องค์กรอื่นๆ รวมทั้งภาคี เครือข่ายในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคด้านอาหารโภชนาการ และการดำรงชีวิตที่ช่วยสร้างความแข็งแรงให้แก่ร่างกายทั้งภายนอกและภายในโดยการใช้แรงกายที่เหมาะสมของคนในชุมชนอันจะนำไปสู่การลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหรือให้ดำรงชีวิตแบบไม่มีโรคที่ถือว่าเป็นลาภอันประเสริฐนั่นเอง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกอ้นได้เห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการ“ชุมชนไร้พุง ประจำปี 2560” ขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริมประชาชนในพื้นที่ให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านการบริโภคอาหาร การออกกำลังกายและการดำรงชีวิตที่ปราศจาคโรคภัยไข้เจ็บและภาวะอ้วนลงพุง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
- 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักพร้อมทั้งป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรม
- 3. เพื่อให้ประชาชนรักการออกกำลังกายในการสร้างสุขภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
- ประชาชนรู้จักป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมได้
- ประชาชนสามารถออกกำลังกายเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี ประชาชนรู้จักป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรมได้ ประชาชนสามาถออกกำลังกายเพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพที่ดี
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักพร้อมทั้งป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรม ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้ประชาชนรักการออกกำลังกายในการสร้างสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักพร้อมทั้งป้องกันตนเองจากโรคที่เกิดจากพฤติกรรม (3) 3. เพื่อให้ประชาชนรักการออกกำลังกายในการสร้างสุขภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนไร้พุง จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L2978-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมารีแย สาหลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......