กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห


“ โครงการสุขภาพดี ด้วยวิถีพอเพียง ประจำปี 2561 ”

ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคลองแห

ชื่อโครงการ โครงการสุขภาพดี ด้วยวิถีพอเพียง ประจำปี 2561

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7255-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มิถุนายน 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสุขภาพดี ด้วยวิถีพอเพียง ประจำปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสุขภาพดี ด้วยวิถีพอเพียง ประจำปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสุขภาพดี ด้วยวิถีพอเพียง ประจำปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2561-L7255-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 มิถุนายน 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2560 เป็นต้นมา กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้ดำเนินโครงการชุมชน ต้นแบบสุขภาพดีด้วยวิถีพอเพียงเพื่อดำเนินกิจกรรมพัฒนาเมืองคลองแหให้เป็นเมืองแห่งความสุข (Klonghaecity of Happiness)ภายใต้แนวคิด “4 ดี วิถีพอเพียง”ให้คนคลองแหทุกเพศทุกวัยทุกช่วงอายุมีความสุขจากการเป็นคนดี มีสุขภาพดี มีรายได้ดี และมีสิ่งแวดล้อมดีและให้เมืองคลองแหเป็นเมืองแห่งความสุขแบบยั่งยืนตามแนวพระราชดำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่พระราชทานไว้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในทุกมิติด้วยการบูรณาการทุกภาคส่วนให้เข้ามามีส่วนร่วมทำงานและยึดคนเป็นศูนย์กลางพัฒนา เทศบาลเมืองคลองแหได้น้อมนำ “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพ” และยึดหลักการที่ว่า “สุขภาพดีเป็นผลจากสังคมดี ” คือ สุขภาพดีเกิดจากการมีสังคมที่อยู่เย็นเป็นสุขโดยถือว่าสุขภาพดีหรือสุขภาวะทางกาย ทางใจ ทางสังคม ทางจิตวิญญาณ และปัญญาของทุกคนเป็นศีลธรรมขั้นพื้นฐานของสังคมการพัฒนาเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนและให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ภาวการณ์มีสุขภาพที่ดีของประชาชนขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ หลายด้านซึ่งความสำเร็จที่เกิดขึ้นมีความเป็นพลวัตรรวมทั้งในขณะที่ชุมชนมีความเข้มแข็งมีทุนทางสังคมที่เพียงพอในระดับที่สามารถนำมาใช้พัฒนาชุมชนของตนเองได้ถ้าหากมีการชี้แนะและสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมให้ชุมชนได้มาร่วมคิดร่วมทำและร่วมติดตามอย่างแท้จริงจนสามารถพัฒนาให้เกิดเป็น “ชุมชนต้นแบบสุขภาพดีด้วยวิถีพอเพียง” และสามารถเป็นตัวอย่างให้ชุมชนอื่นๆ ได้นำไปเป็นแนวทางการพัฒนาชุมชนต่อไป ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม ทำให้ประชาชน คนไทยใช้ชีวิตแบบรีบเร่งและแข่งขันมากขึ้นและให้ความสำคัญกับการทำงานเพื่อหารายได้มาตอบสนองต่อความต้องการสร้างให้เกิดความเครียดและไม่ใส่ใจในการดูแลด้านสุขภาพที่ถูกต้องนำมาซึ่งพฤติกรรมบางอย่างที่ส่งผลกระทบทางด้านลบต่อสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหารนอกบ้าน ทำให้พฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนไป นิยมบริโภคโปรตีนและไขมันสูง และนิยมซื้ออาหารสำเร็จรูปหรือกึ่งสำเร็จรูปรับประทานผักและผลไม้ไม่เพียงพอนิยมบริโภคเนื้อสัตว์ขาดการออกกำลังกายการสูบบุหรี่การดื่มสุรามากเกินไป พฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ดังกล่าวส่งผลถึงปัญหาสุขภาพและภาวการณ์เกิดโรคเรื้อรังหลายชนิดที่สำคัญตามมา ได้แก่ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วนโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือด อัมพาต อัมพฤกษ์ภาวะวิตกกังวลและความเครียด รวมถึงโรคมะเร็งซึ่งโรคหรืออาการต่างๆ ดังกล่าว เป็นโรคหรืออาการเรื้อรังที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและตายอันดับต้นๆ ของประเทศ และมีแนวโน้มของปัญหาที่รุนแรงมากขึ้น การพัฒนาสุขภาพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง การพัฒนาสุขภาพหรือสุขภาวะที่สมบูรณ์ ในทุกมิติของสุขภาพทั้งกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ในระดับบุคคลหรือองค์กร บนพื้นฐานการพึ่งตนเองเป็นหลัก อย่างทางสายกลางพอประมาณ มีเหตุผล ด้วยหลักความรู้ รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง และมีคุณธรรม เป็นพื้นฐาน มีความซื่อสัตย์ เมตตา จิตอาสา เสียสละและแบ่งปัน ตามความเหมาะสมของชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมที่เป็นอยู่ เพื่อความสมดุล มั่นคง และยั่งยืน การนำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การไม่ฟุ่มเฟือย ประหยัดอดออม
ไม่เป็นหนี้ การปลูกผักปลอดสารพิษไว้กินเอง ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้แก่ครัวเรือน การออกกำลังกาย ทำให้ร่างกายแข็งแรง การทำจิตใจให้เบิกบาน แจ่มใส ไม่เครียดปล่อยวาง มีศีลธรรม เป็นต้น
เทศบาลมีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 13)
พ.ศ. 2552มาตรา 50 (6) ให้ราษฎรได้รับการศึกษาอบรมมาตรา 54 (7) จัดทำกิจการซึ่งจำเป็นเพื่อการสาธารณสุขและพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2549มาตรา 16 (19) กำหนดให้เทศบาล เมืองพัทยา และองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง เรื่อง การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาลดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคลองแหจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ติดอาวุธทางปัญญาให้กับประชาชนเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงและสนับสนุนให้เกิดแกนนำเครือข่ายรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมในชุมชนโดยเริ่มต้นจากตนเองในการเปลี่ยนแปลงและมีความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการดำเนินชีวิตและจะได้นำองค์ความรู้ไปปรับใช้ให้คนในครอบครัวและชุมชนมีสุขภาพดีบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตั้งแต่ระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชนแบบยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
  2. เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
  3. ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
  4. เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
  5. เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
  6. 1.เพื่อจัดกิจกรรมอบรมติดอาวุธทางปัญญาให้แก่ประชาชน และหันมาให้ความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในดูแลสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให้มากขึ้น 2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้มีเครือข่ายแกนนำรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมในระดับครัวเรือน 3 เพื่อให้ประชาชนห่างไกลจากโรคภัยและมีอายุยืนยาวขึ้น 4 เพื่อลดค่าใช้จ่ายของประชาชนและงบประมาณของภาครัฐในการรักษาพยาบาลจากการเจ็บป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการสุขภาพดี ด้วยวิธีพอเพียง จำนวน 10 รุ่นๆ ละ 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 125
กลุ่มวัยทำงาน 125
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น
2. มีเครือข่ายแกนนำรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมในระดับครัวเรือนและชุมชนสามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่สมาชิกในครอบครัวและชุมชนได้ 3. ทำให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพกายแข็งแรงและสุขภาพใจที่สดชื่นแจ่มใส อายุยืนยาว
4. ทำให้สภาพสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชนดีขึ้น 5. ทำให้ประหยัดงบประมาณทั้งของประชาชนและภาครัฐสำหรับเป็นค่ารักษาพยาบาลลงได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการสุขภาพดี ด้วยวิธีพอเพียง จำนวน 10 รุ่นๆ ละ 1 วัน

วันที่ 18 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-จัดทำโครงการเสนอคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคลองแหเพื่อพิจารณาอนุมัติ -ประชุมผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินโครงการ - จัดซื้อ จัดหา จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ที่จำเป็นตามโครงการ -

-ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมอบรม -เปิดโครงการฯ โดยนายอนันต์ การันสันติ (นายกเทศมนตรีเมืองคลองแห) -บรรยาย 9 คำสอนพ่อเพื่อชีวิตพอเพียง บรรยาย เรื่อง "การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยวิถีพอเพียง" โดย อาจารย์ภานุ พิทักษ์เผ่า -พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม (เพื่อสุขภาพ) -สาธิตการทำน้ำผัก/ผลไม้เพื่อสุขภาพ/การปรุงเมนูจากผัก (ปลอดเนื้อสัตว์) โดย อาจารย์ภานุ พิทักษ์เผ่า และวิทยากรร่วม -รับประทานอาหารกลางวัน (อาหารเพื่อสุขภาพ) -สาธิตและแบ่งกลุ่มฝึกปฎิบัติการทำสารชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ในครัวเรือน เพื่อลดค่าใช้จ่ายและปลอดภัยจากสารเคมี เช่น การทำสบู่ น้ำยาอเนกประสงค์ น้ำหมักชีวภาพ ปุ๋ยอินทรีย์ เป็นต้น โดย สท.อุดม เพ็ชรธนู และวิทยากรร่วม -พักรับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม (เพื่อสุขภาพ) -สาธิตและแบ่งกลุ่มฝึกปฎิบัติการทำสารชีวภาพและผลิตภัณฑ์ใช้ในครัวเรือน เพื่อลดค่าใช้จ่ายและปลอดภัยจากสารเคมีฯ (ต่อ) โดย สท.อุดม เพ็ชร และวิทยากรร่วม -การดำเนินงานกิจกรรมอาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.) คลองแห โดย นาศิริวรรณ ทองบัว นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ -สรุปผลการฝึกอบรม/พิธีปิดการฝึกอบรม

-ประสานติดต่อ สถานที่และวิทยากร สำหรับจัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการฯ -ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสถานศึกษา/คณะกรรมการชุมชน/คณะทำงานเครือข่ายสาธารณสุขฯ หรืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในแต่ละชุมชน
- จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาสาสมัครท้องถิ่นรักษ์โลก (อถล.)นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป จำนวน 500 คน ณ ศูนย์เรียนรู้คลองแห 4 ดี วิถีพอเพียง (วัดคลองแห) ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยแบ่งกิจกรรมอบรมเป็น จำนวน 10 รุ่นๆ ละ 1 วัน รายละเอียดตามเอกสารแนบท้ายโครงการ
- ประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการฯ - ส่งเสริม สนับสนับ ให้ผู้ผ่านอบรมจัดตั้งเป็นเครือข่ายแกนนำรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมในระดับครัวเรือนและชุมชน เพื่อร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมในชุมชนต่อไป
- สรุปและรายงานผลการดำเนินโครงการให้ผู้บริหารฯ และคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคลองแหทราบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ประชาชนได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ดีและให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพตนเองมากขึ้น
-มีเครือข่ายแกนนำรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมในระดับครัวเรือนและชุมชน สามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่สมาชิกในครอบครัวและชุมชนได้ -ทำให้ประชาชนในชุมชนมีสุขภาพกายแข็งแรงและสุขภาพใจที่สดชื่นแจ่มใส อายุยืนยาว
-ทำให้สภาพสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนและชุมชนดีขึ้น -ทำให้ประหยัดงบประมาณทั้งของประชาชนและภาครัฐสำหรับเป็นค่ารักษาพยาบาลลงได้

 

500 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
50.00

 

2 เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น
100.00

 

3 ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ
100.00

 

4 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค
100.00 100.00

 

5 เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย(คน)
50.00 2.00

 

6 1.เพื่อจัดกิจกรรมอบรมติดอาวุธทางปัญญาให้แก่ประชาชน และหันมาให้ความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในดูแลสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให้มากขึ้น 2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้มีเครือข่ายแกนนำรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมในระดับครัวเรือน 3 เพื่อให้ประชาชนห่างไกลจากโรคภัยและมีอายุยืนยาวขึ้น 4 เพื่อลดค่าใช้จ่ายของประชาชนและงบประมาณของภาครัฐในการรักษาพยาบาลจากการเจ็บป่วย
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อจัดกิจกรรมอบรมติดอาวุธทางปัญญาให้แก่ประชาชน และหันมาให้ความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในดูแลสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให้มากขึ้น 2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้มีเครือข่ายแกนนำรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมในระดับครัวเรือน 3 เพื่อให้ประชาชนห่างไกลจากโรคภัยและมีอายุยืนยาวขึ้น 4 เพื่อลดค่าใช้จ่ายของประชาชนและงบประมาณของภาครัฐในการรักษาพยาบาลจากการเจ็บป่วย
200.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 500
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 125
กลุ่มวัยทำงาน 125
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 250
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ  (2) เพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน (3) ลดพฤติกรรมดื่มน้ำอัดลม เครื่องดื่มรสหวานจัด (4) เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีภาวะเสี่ยงต่อการท้องเสียจากการบริโภค (5) เพื่อแก้ปัญหาเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย (6) 1.เพื่อจัดกิจกรรมอบรมติดอาวุธทางปัญญาให้แก่ประชาชน  และหันมาให้ความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในดูแลสุขภาพและรักษาสิ่งแวดล้อมบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงให้มากขึ้น 2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้มีเครือข่ายแกนนำรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมในระดับครัวเรือน 3 เพื่อให้ประชาชนห่างไกลจากโรคภัยและมีอายุยืนยาวขึ้น 4 เพื่อลดค่าใช้จ่ายของประชาชนและงบประมาณของภาครัฐในการรักษาพยาบาลจากการเจ็บป่วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการตามโครงการสุขภาพดี ด้วยวิธีพอเพียง  จำนวน 10 รุ่นๆ ละ 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสุขภาพดี ด้วยวิถีพอเพียง ประจำปี 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2561-L7255-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองคลองแห )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด