กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ เพื่อนใจวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2561 ”
ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางดรุณี เพชรพันธุ์




ชื่อโครงการ เพื่อนใจวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-25 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"เพื่อนใจวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เพื่อนใจวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " เพื่อนใจวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5171-2-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,882.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เป็นประเด็นที่มีความสำคัญและส่งผลกระทบถึงสังคมในวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจของแม่และเด็กโดยพบว่า อัตราการคลอดในวัยรุ่นของประเทศไทยนั้นเริ่มมีอัตราการเพิ่มสูงขึ้นอย่างเห็นได้ชัดในระหว่าง พ.ศ. 2543-2555 โดยอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปีต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี1,000 คน เพิ่มจาก 31.1 เป็น 53.4 ส่วนอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปีต่อประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี1,000 คน เพิ่มจาก 0.5 เป็น 1.8 หลังจากนั้นในระหว่าง พ.ศ. 2556-2558 อัตราการคลอดในวัยรุ่นทั้ง 2 กลุ่มอายุมีแนวโน้มลดลงเท่ากับ 44.8 ต่อประชากรหญิงอายุ15-19 ปี1,000 คน และ 1.5 ต่อประชากรหญิงอายุ10-14 ปี1,000 คน จังหวัดสงขลาพบว่าในปีงบประมาณ 2560 อัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี1,000 คน เป็น27.96 ส่วนอัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 10-14 ปีต่อประชากรหญิงอายุ 10-14 ปี1,000 คน เป็น 0.78( ข้อมูล HDC 5 ก.ย. 60) อำเภอควนเนียงในปีงบประมาณ 2560 พบว่า วัยรุ่นอายุ 10-19 ปี มีการตั้งครรภ์และคลอดจำนวน 16 ราย สำหรับพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะใหญ่ ซึ่งประกอบไปด้วย พื้นที่หมู่ที่ 1,8,9,10,11,12 และ 13 ต.บางเหรียง อ.ควนเนียง จ.สงขลา พบว่า วัยรุ่นอายุ 10-19 ปี มีการตั้งครรภ์และคลอดจำนวน 3 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.75 จำนวน 1 ใน 3 รายมีการตั้งครรภ์ซ้ำ ประเด็นเรื่องท้องในวัยรุ่นได้รับความสนใจจากสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเวลาที่มีเหตุการณ์เกิดขึ้น เช่น เหตุการณ์ 2002 ศพในปี 2553 ทำให้สังคมให้ความตื่นตัวต่อกรณีนี้อย่างมาก และเป็นประเด็นที่มีการถกเถียงกันของสังคมในวงกว้าง จนนำไปสู่การเสนอให้มีการแก้ไขกฎหมายทำแท้ง อย่างไรก็ตามทางภาครัฐเห็นว่า ยังไม่มีความจำเป็นที่จะแก้กฎหมาย ทั้งนี้เพราะกฎหมายอาญาเปิดโอกาสให้ทำแท้งได้อยู่แล้วใน 2 กรณี คือถ้าปล่อยให้อายุครรภ์มากขึ้นจะเป็นอันตรายต่อแม่ที่ตั้งครรภ์ และกรณีถูกข่มขืน รัฐเล็งเห็นว่าทางออกที่ดีที่สุดของปัญหานี้ก็คือทุกหน่วยงานต้องร่วมมือกันและมาตรการที่ดีที่สุด คือมาตรการป้องกัน เพราะการทำแท้งเป็น การแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ วิธีที่ดีที่สุดคือการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา การวางแผนครอบครัว โดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่นและวัยทำงาน รวมถึงการส่งเสริมความรู้ในวัยเรียนเรื่องเพศศึกษาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเพศได้อย่างถูกต้อง การแก้ไขปัญหาเรื่องท้องในวัยรุ่นเป็นประเด็นที่จะต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนของสังคม ตั้งแต่การรณรงค์โดยมุ่งไปที่ตัววัยรุ่นเองให้ตระหนักถึงปัญหาและให้ความสำคัญของการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์โดยปลอดภัยและรับผิดชอบ รวมถึงการเรียนการสอนเรื่องทักษะชีวิตและเพศศึกษาแบบรอบด้าน เพื่อให้วัยรุ่นมีทักษะในการสื่อสาร การรู้จักปฏิเสธ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเกาะใหญ่จึงจัดทำโครงการพัฒนาคุณภาพงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2561 ในชุมชนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.1.สร้างภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ และเอกชน
  2. 1.3.จัดกิจกรรมวัยรุ่น วัยใส ห่วงใยสุขภาพ ในโรงเรียนประถมศึกษา
  3. 1.2.จัดตั้งคลินิก "วัยใส เพื่อนใจวัยรุ่น" ในสถานบริการสาธารณสุขเพื่อเปิดให้บริการดังนี้ 1.2.1.สายด่วนวัยใส เบอร์โทร........ LINE 1.2.2.ช่องทางด่วน ไม่ต้องรอคิว 1.2.3.มีเจ้าหน้าที่ให้บริการทุกวัน
  4. 1.4.จัดกิจกรรมวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ในครอบครัว/ชุมชน
  5. 1.5.ติดตามการดำเนินงานคลินิกวัยรุ่นในโรงเรียนและรพ.สต.
  6. 1.6.คัดเลือกแกนนำผู้ปกครอง และวัยรุ่น เพื่อเป็นพี่เลี้ยง ให้รุ่นต่อไป และเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 270
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.วัยรุ่นเกิดการเรียนรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเพศได้อย่างถูกต้อง
2.วัยรุ่นให้ความสำคัญของการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย และรับผิดชอบ 3.มีความเข้าใจที่ถูกต้อง ระหว่าง พ่อ แม่ ลูก ลูกเข้าใจในความรักของพ่อ แม่ สร้างสัมพันธภาพในครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 270
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 270
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1.สร้างภาคีเครือข่าย ทั้งภาครัฐ และเอกชน  (2) 1.3.จัดกิจกรรมวัยรุ่น วัยใส ห่วงใยสุขภาพ ในโรงเรียนประถมศึกษา (3) 1.2.จัดตั้งคลินิก "วัยใส เพื่อนใจวัยรุ่น" ในสถานบริการสาธารณสุขเพื่อเปิดให้บริการดังนี้ 1.2.1.สายด่วนวัยใส เบอร์โทร........ LINE  1.2.2.ช่องทางด่วน ไม่ต้องรอคิว 1.2.3.มีเจ้าหน้าที่ให้บริการทุกวัน  (4) 1.4.จัดกิจกรรมวัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย ในครอบครัว/ชุมชน (5) 1.5.ติดตามการดำเนินงานคลินิกวัยรุ่นในโรงเรียนและรพ.สต. (6) 1.6.คัดเลือกแกนนำผู้ปกครอง และวัยรุ่น เพื่อเป็นพี่เลี้ยง ให้รุ่นต่อไป และเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยงอย่างต่อเนื่อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เพื่อนใจวัยรุ่น ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดรุณี เพชรพันธุ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด