กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ อบรมอาสาสมัคร EMS ประจำหมู่บ้านตำบลปากล่อ
รหัสโครงการ 02-PKL-12
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
วันที่อนุมัติ 9 เมษายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 สิงหาคม 2561 - 2 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 3 กันยายน 2561
งบประมาณ 16,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายทวีศักดิ์แซ่ยี่
พี่เลี้ยงโครงการ รพ.สต.ปากล่อ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด 6.62,101.187place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานความปลอดภัยทางถนน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 2 ส.ค. 2561 2 ส.ค. 2561 16,300.00
รวมงบประมาณ 16,300.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 105 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายให้จัดตั้งระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินขึ้นในทุกจังหวัดทั่วประเทศ ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ( Emergency medical system= EMS) หมายถึง ระบบบริการผู้ป่วยอุบัติเหตุและผู้ป่วยเจ็บป่วยฉุกเฉิน ให้การดูแลปฐมพยาบาล ทั้งนอกโรงพยาบาลและในโรงพยาบาลประเทศไทยมีข้อมูลการใช้บริการห้องฉุกเฉินจำนวนประมาณ๑๒ล้านครั้งต่อปี มีผู้ป่วยวิกฤติและเร่งด่วนประมาณ ร้อยละ ๓๐ที่จำเป็นต้องได้รับบริการการแพทย์ฉุกเฉินและเสียชีวิตนอกโรงพยาบาลประมาณ ๖๐,๐๐๐ คน หากมีระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพจะช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉินดังกล่าวได้ถึงปีละ ๙,๐๐๐- ๑๒,๐๐๐ คนสาเหตุที่ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและทันเวลา เพราะมีระบบการบริการการแพทย์ฉุกเฉินที่ด้อยประสิทธิภาพไม่ครอบคลุมผู้ป่วยทุกคนและทุกพื้นที่ขาดระบบที่เข้าถึงได้ง่าย การช่วย ณ จุดเกิดเหตุยังด้อยคุณภาพซึ่งทำให้ผู้ป่วยพิการและเสียชีวิตโดยไม่จำเป็น ทีมอาสาสมัครกู้ชีพตำบลปากล่อ เห็นถึงความสำคัญของการบริการแพทย์ฉุกเฉิน โดยเฉพาะด้านทักษะการกู้ชีพของอาสาสมัครในพื้นที่แต่ละหมู่บ้าน โรงเรียน ซึ่งทุกหมู่บ้านยังขาดองค์ความรู้ที่ถูกวิธี ที่สามารถให้การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บและผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ผู้เจ็บป่วยปลอดภัย ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ดังนั้น เพื่อเป็นการพัฒนาเครือข่ายระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินตลอดจนบุคลากรและอาสาสมัคร ครูแกนนำนักเรียน ประชาชนในพื้นที่ กู้ชีพที่สามารถให้บริการการแพทย์ฉุกเฉินในหน่วยบริการระดับพื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องรวดเร็ว และปลอดภัยตลอด ทีมอาสาสมัครกู้ชีพตำบลปากล่อจึงได้จัดทำโครงการอบรมอาสาสมัครบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ปี 2561ขึ้

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ระดับพื้นฐานให้เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่

เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรมร้อยละ 100

0.00
2 เพื่อให้เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มีความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติจริงด้านการปฐมพยาบาล และการกู้ชีพเบื้องต้นได้

เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มีความรู้เพิ่มขึ้นและสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลังอบรมลดการบาดเจ็บที่อาจเกิดเพิ่มขึ้นได้จากอุบัติเหตุนั้นๆ

0.00
3 เพื่อลดอันตรายการบาดเจ็บหรือการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุต่างๆ

ลดอัตราการเกิดความพิการหรือบาดเจ็บเพิ่มจากอุบัติเหตุหรือการเสียชีวิตจากท้องถนนลดลง

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 15.00 1 16,300.00 -16,285.00
2 ส.ค. 61 - 2 ก.ค. 61 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการกู้ชีพระดับพื้นฐาน (FR) แก่อาสาสมัครกู้้ชีพในลักษณะการแบ่งกลุ่ม โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์ 0 15.00 16,300.00 -16,285.00
รวมทั้งสิ้น 0 15.00 1 16,300.00 -16,285.00

รับสมัครและคัดเลือกอาสาสมัครกู้ชีพทั้ง 9 หมู่บ้าน จัดอบรมเชิงปฏิบัติการกู้ชีพระดับพื้นฐาน (FR) การปฐมพยาบาลเบื้องต้นให้กับผู้เข้าร่วมอบรมในลักษณะการแบ่งกลุ่ม(โดยวิทยากร จาก รพ.โคกโพธิ์) ในวันที่่ 2 สิงหาคม 2561) ประเมินผลติดตามด้วยวิธีการปฏิบัติจริงจากสถานการณ์จำลอง และตอบแบบสอบถาม

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีเจ้าหน้าที่กู้ชีพกู้ภัยเป็นภาคีเครือข่ายครอบคลุมทั้งตำบล ที่มีความรู้และทักษะตามหลักวิชาการ 2.ผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินได้รับการช่วยเหลืออย่างถูกวิธีและปลอดภัย 3.ทำให้ทุกภาคส่วนของชุมชน โรงเรียน มีการทำงานแบบบูรณาการร่วม

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ก.ค. 2561 23:17 น.