กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. อาสาสมัครกู้ชีพ อสม. ครูอนามัยโรงเรียน ตัวแทนกู้ชีพมีความรู้เพิ่มมากขึ้นจากการถาม -ตอบ และฝึกปฏิบัติ
  2. เจ้าหน้าที่ประจำรพ.สต. อาสาแต่ละหมู่บ้าน โรงเรียนแต่ละโรง มีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการกู้ชีพเพิ่มมากขึ้น ร้อยละ95 เนื่องจาก อสม.สูงวัย กู้ชีพบางท่านประสพอุบัติเหตุมาการลงมือปฏิบัติไม่อำนวย
  3. มีการสานสัมพันธ์ที่ดี มีการต่อยอดการให้ความรู้ไปยังโรงเรียนและชุมชนที่สนใจ
  4. ทุกภาคส่วนมีการทำแผนแบบบูรณาการในการให้ความรู้เรื่องกู้ชีพ โดยมีการเชิญวิทยากรไปให้ความรู้
  5. ผู้ป่วยได้รับการช่วยเหลืออย่างปลอดภัยและมีประสิทธิผลจากการแจ้งเหตุที่ถูกต้อง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ระดับพื้นฐานให้เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่
ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มีความรู้เพิ่มขึ้นหลังอบรมร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อให้เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มีความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติจริงด้านการปฐมพยาบาล และการกู้ชีพเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มีความรู้เพิ่มขึ้นและสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้องหลังอบรมลดการบาดเจ็บที่อาจเกิดเพิ่มขึ้นได้จากอุบัติเหตุนั้นๆ
0.00

 

3 เพื่อลดอันตรายการบาดเจ็บหรือการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุต่างๆ
ตัวชี้วัด : ลดอัตราการเกิดความพิการหรือบาดเจ็บเพิ่มจากอุบัติเหตุหรือการเสียชีวิตจากท้องถนนลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 115
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 10
กลุ่มวัยทำงาน 105
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ระดับพื้นฐานให้เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ (2) เพื่อให้เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่มีความรู้และสามารถนำไปปฏิบัติจริงด้านการปฐมพยาบาล และการกู้ชีพเบื้องต้นได้ (3) เพื่อลดอันตรายการบาดเจ็บหรือการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการกู้ชีพระดับพื้นฐาน (FR) แก่อาสาสมัครกู้้ชีพในลักษณะการแบ่งกลุ่ม โดยทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh