กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ วัยรุ่น วัยใส บางเหรียงร่วมใจป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ”
ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางปิยาเรืองหนู




ชื่อโครงการ วัยรุ่น วัยใส บางเหรียงร่วมใจป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"วัยรุ่น วัยใส บางเหรียงร่วมใจป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
วัยรุ่น วัยใส บางเหรียงร่วมใจป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " วัยรุ่น วัยใส บางเหรียงร่วมใจป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5171-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ช่วงวัยรุ่น 10-19 ปี เป็นช่วงเปลี่ยนผ่านจากวัยเด็กสู่วัยผู้ใหญ่ ในช่วงเวลานี้ วัยรุ่นจะุมีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย ทางอารมณ์ สติปัญญาและสังคมมากมาย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งทางร่างกายและจิตใจตลอดจนสังคมที่เกิดขึ้นในวัยรุ่นนั้นทำให้ช่วงเวลาดังกล่าวเป็นช่วงที่มีความสำคัญแตกต่างจากช่วงเวลาอื่นๆ ของชีวิต จึงต้องวางรากฐานการมีสุขภาพที่ดีเพื่อให้เด็กนั้นเติบโตเป็นผู้ใหญ่ วัยรุ่นจุมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูงกว่าผู้ที่มีอายุเกินกว่า 20 ปี เช่น ภาวะโลหิตจาก ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ภาวะคลอดก่อนกำหนดสูง เจ็บครรภ์คลอดนาน การคลอดโดยใช้อุปกรณ์ช่วยคลอดเสี่ยงต่อการผ่าตัดคลอด ภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม และทารกตายในครรภ์ อัตราการตายของมารดาอายุ 15-19 ปี สูงกว่ามารดาที่มีอายุ 20-24 ปี ถึง 3 เท่า และวัยรุ่นยังไม่พร้อมด้านจิตใจสำหรับเป็นแม่ นอกจากนี้การตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่นยังก่อให้เกิดปัยหาด้านเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วย คือ การต้องหยุดหรือออกจากการศึกษา ไม่มีงานทำ ค่ารักษาขณะตั้งครรภ์ การคลอดบุตร และการเลี้ยงดูบุตร ปัญหาเหล่านี้ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของทั้งแม่วัยรุ่นและบุตรที่เกิดมา ทำให้ปัญหา เด็กเกิดน้อยแต่ด้วยคุณภาพของเทศไทยมากยิ่งขึ้น โรงพยาลายส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลาในปี 2560 ที่ผ่านมา มีอัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น จำนวน 5 ราย คิดเป็นร้อยละ 4.8 และการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น 2 ราย คิดเป็นร้อยละ 1.92 จากประชากร 15-19 ปี ทั้งหมด 104 คน จึงได้จัดทำโครงการ วัยรุ่น วัยใส ร่วมใจป้องกันตั้งครรภ์ไม่พร้อมขึ้น เพื่อให้วัยรุ่นมีความรู้เรื่อง เพศศึกษา มีทักษะชีวิต และมีการปรับทัศนคติ ค่านิยมเรื่องเพศที่เหมาะสม เพื่อช่วยลดอัตราการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น และจัดอบรมให้ความรู้และดูแลมารดาวัยรุ่นใเรื่องการป้องกันตั้งครรภ์อย่างถูกวิธี เพื่อลดโอกาสการเกิดการตั้งครรภ์ซ้ำในมารดาวัยรุ่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อบูรณาการระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กในสถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว และชุมชนให้ได้คุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. จัดตั้งคลีนิควัยใส
  3. จัดกิจกรรม "วัยเรียน วัยใส ห่วงใยสุขภาพ"
  4. จัดกิจกรรม "วัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย"
  5. อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.วัยรุ่นเกิดการเรียนรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเพศได้อย่างถูกต้อง 2.วัยรุ่นให้ความสำคัญของการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยและรับผิดชอบ 3.มีความเข้าใจที่ถูกต้อง ระหว่าง พ่อ แม่ ลูก ลูกเข้าใจในความรักของพ่อ แม่ สร้างความสัมพันธภาพในครอบครัว


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อบูรณาการระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กในสถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว และชุมชนให้ได้คุณภาพ
ตัวชี้วัด : อัตราการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นน้อยกว่าร้อยละ 10
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อบูรณาการระบบบริการงานอนามัยแม่และเด็กในสถานบริการสาธารณสุข ครอบครัว และชุมชนให้ได้คุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) จัดตั้งคลีนิควัยใส (3) จัดกิจกรรม "วัยเรียน วัยใส ห่วงใยสุขภาพ" (4) จัดกิจกรรม "วัยรุ่น วัยใส ไม่ท้องก่อนวัย" (5) อบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


วัยรุ่น วัยใส บางเหรียงร่วมใจป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปิยาเรืองหนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด