กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพทางกายใจและลดการติดเกมส์ในเด็กและเยาวชน ”

ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายเอกชัย บริเพชร

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพทางกายใจและลดการติดเกมส์ในเด็กและเยาวชน

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพทางกายใจและลดการติดเกมส์ในเด็กและเยาวชน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพทางกายใจและลดการติดเกมส์ในเด็กและเยาวชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพทางกายใจและลดการติดเกมส์ในเด็กและเยาวชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5171-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,330.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กติดเกมส์ คือ เด็กที่หมกมุ่นอยู่กับการเล่นเกมส์มากเกินไปจนไม่สามารถควบคุมตนเองให้เล่นในเวลาที่กำหนด ทำให้ใช้เวลาในการเล่นนานติดต่อกันหลายชั่วโมง หรือเล่นนานขึ้นเรื่อย ๆ จากเดิมเพียงไม่กี่ชั่วโมงต่อวัน แต่เพิ่มเป็นหลายชั่วโมงต่อวัน บางคนเล่นข้ามวันข้ามคืน เมือ่ถูกบังคับให้เลิกหรือหยุดเล่นจะมีพฤติกรรมในเชิงต่อต้าน จะมีผลเสียต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ หรือมีปฏิกริยาที่แสดงออกถึงอาการหงุดหงิด ไม่พอใจอย่างรุนแรง ซึ่งบางคนอาจถึงขั้นก้าวร้าวได้การเล่นเกมส์ของเด็กมีผลกระทบต่อหน้าที่ความรับผิดชอบของเด็กโดยตรง เช่น เด็กไม่สนใจการเรียน หลับในห้องเรียน ไม่ทำการบ้าน หนีเรียน หรือแอบหนีออกจากบ้านเพื่อที่จะไปเล่นเกมส์ ผลการเรียนตกลงจากเดิม มักชอบแยกตัวจากสังคม หรือไม่ค่อยทำกิจกรรมร่วมกับครอบครัว เพราะมัวแต่อยู่ในสังคมของเกมส์ที่ตนเองเล่นอยู่จนไม่ได้ใช้ชีวิตในสังคมของความเป็นจริง โดยบางรายอาจมีปัญหาทางพฤติกรรมอื่นๆ ร่วมด้วย เช่น โกหก ลักขโมย (เพื่อนำเงินไปเล่นเกมส์) ดื้อ ต่อต้าน แยกตัว เก็บตัว ทางด้านผลเสียต่อสุขภาพร่างกาย เด็กจะทรุดโทรม ซูบผอม ซึ่งเกิดจากอุปนิสัยการบริโภคอาหารเปลี่ยนไป ชอบอดมื้อกินมื้อ ส่งผลให้เกิดการปวดท้อง ในบางรายจะเกิดโรคอ้วนเพราะไม่ได้ขยับเขยื้อนร่างกายหรือออกกำลังกาย การเข้านอนและการตื่นผิดปกติ มักจะปล่อยปละละเลยเรื่องอนามัยและการรักษาความสะอาด นอกจากนั้นอาจจะทำให้เด็กมีปัญหาด้านสายตา ลูกตาก็จะแห้งและล้าเพราะแสงจ้าจากการที่ต้องจ้องจอคอมพิวเตอร์ มีอาการปวดหัว ปวดหลัง ปวดเมื่อยข้อมือ การรับรู้สึกที่มือถูกสะเทือน เพราะเส้นประสาทจากข้อมือไปยังมือถูกกดเป็นเวลานานจาการนั่งเล่นเกมส์ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน การเล่นเกมส์คอมพิวเตอร์ยังทำให้หัวใจเต้นเร็วขึน ความดันโลหิตสูงขึ้น ทำให้เด็กเกิดอาการโดยหาการเล่นเกมส์ตลอดเวลา โดยเฉพาะในวันหยุดเสาร์ อาทิตย์ เด็กจะมีเวลาว่างมาก จะใช้เวลาในการเล่นเกมสืมาก และจับกลุ่มกันเล่นเกมส์ หากดำเนินโครงการโดยให้มีการทำกิจกรรมสร้างสรรค์เพื่อใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และส่งผลดีต่อสุขภาพ และจิตใจของเด็กและเยาวชน ลดเวลาการเล่นเกมส์ให้น้อยลง ทำให้สุขภาพและจิตใจของเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมดีขึ้น และส่งผลต่อสามาธิในการเล่าเรียนของเด็กดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนรู้ถึงโทษภัยและประโยชน์ของสื่อเทคโนโลยี และโทษภัยของการเล่นเกมส์ ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการลดเวลาการเล่นเกมส์โดยการทำกิจกรรมสร้างสรรค์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม "การทำผ้ามัดย้อม"
  2. กิจกรรม "เทคนิคงานศิลปและกระปุกออมสินมหัศจรรย์"
  3. กิจกรรมทำสบู่สมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและเยาวชนสามารถลดเวลาการเล่นเกมสืลงได้มีผลต่อสมาธิ สุขภาพและจิตใจของผู้เข้าร่วมโครงการฯ 2.เด็กและเยาวชนผู้เข้าร่วมโครงการสามารถสร้างผลงานอย่างสร้างสรรค์ตามความถนัด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนรู้ถึงโทษภัยและประโยชน์ของสื่อเทคโนโลยี และโทษภัยของการเล่นเกมส์ ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการลดเวลาการเล่นเกมส์โดยการทำกิจกรรมสร้างสรรค์
ตัวชี้วัด : 1.เด็กและเยาวชนมีความรู้ถึงโทษภัยและประโยชน์ของสื่อเทคโนโลยีตลอดจนโทษของการเล่นเกมส์ 2.เด็กและเยาวชนสามารถลดวเลาการเล่นเกมส์ โดยหันมาทำกิจกรรมสร้างสรรค์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ความรู้แก่เด็กและเยาวชนรู้ถึงโทษภัยและประโยชน์ของสื่อเทคโนโลยี และโทษภัยของการเล่นเกมส์ ข้อที่ 2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการลดเวลาการเล่นเกมส์โดยการทำกิจกรรมสร้างสรรค์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม "การทำผ้ามัดย้อม"  (2) กิจกรรม "เทคนิคงานศิลปและกระปุกออมสินมหัศจรรย์" (3) กิจกรรมทำสบู่สมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพทางกายใจและลดการติดเกมส์ในเด็กและเยาวชน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอกชัย บริเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด