กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ”

ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนวลลดาศาลางาม

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-17 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5171-2-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,225.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนามนุษย์อย่างมีประสิทธิภาพจำเป็นต้องเริ่มตั้งแต่ปฏิสนธิ โดยเฉพาะในช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นรากฐานของการพัฒนาทั้งปวง ซึ่งเป้นการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ที่ยั่งยืนและป้องกันปัญหาสังคมในระยะยาว โดยเน้นให้ครอบครัวเป็นแกนหลักในการพัฒนาเด็กและให้ชุมชน และสังคมเป็นฐานที่มีส่วนร่วมอย่างแท้จริงในการพัฒนาเด็กทุกขั้นตอน จากแนวคิดเชิงทฤษฎีและผลการวิจัยด้านพัฒนาการเด็กได้แสดงว่า ปัจจัยแวดล้ม และการเลี้ยงดูที่เหมาะสมสามารถปรับเปลี่ยนลักษณะการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของสมองมนุษย์ได้ เป็นช่วงเวลาที่สำคัญและจำเป็นที่สุดในการพัฒนาสมอง องค์ความรู้และแนวคิดสมัยใหม่เรื่องการพัฒนาสมองในทศวรรษที่ผานมามีการใช้ศาสตร์ต่าง ๆ ไปวิเคราห์สมอง ถ่ายภาพสมองเพื่อศึกษาพัฒนาการแต่ละขั้น ความรู้ใหม่ พบว่า โอกาสแห่งการเรียนรู้และอัตราการเรียนรู้สูงสุดอยู่ในช่วงวัยเด็ก การเติบโต และพัฒนาการของสมองเป็นรากฐานของการเรียนรู้ และเริ่มตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์ในช่วง 3-6 เดือน ในครรภ์มีการสร้างเซลล์สมองสูงสุด การเติบโตของสมองสูงสุดในช่วง 0-6 ปี เป็นการเติบโตทางปริมาณทำให้สมองเด็กมีขนาด 90-95 %สมองไม่ได้หยุดเติบโตเมื่ออายุ 6 ปี แต่สมองเติบโตจนถึงอายุ 20-25 ปี การศึกษาเรื่องการเรียนรู้ของสมอง เช่น การทำงานของสมองซีกซ้าย และขวา ไม่แยกส่วนกัน แต่จะทำงานในลักษณะร่วมกันทั้งสมองซีกซ้าย และซีกขวา จากความรู้นี้นำไปสู่การออกแบบการเรียนรู้สมัยใหม่ให้เข้ากับพัฒนาการของสมอง ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่บุคลากรด้านปฐมวัยต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองของเด็ก ในปัจจะบันเป็นที่น่าวิตกและถือเป็นวิกฤตของเด็กปฐมวัย เนื่องจากข้อเท็จจริงจากการประเมินสถานการณ์ และทดสอบพัฒนาการ การคัดกรองในเด็กปฐมวัย (อายุ 0-5 ปี)พบว่าโดยภาพรวมเด็กปฐมวัยมีแนวโน้มพัฒนาการล่าช้าในด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม สติปัญญาและจริยธรรม เมื่อพิจารณาจากประเด็นปัญหาต่างๆ พบว่า เด็กอายุ 3-5 ปี ที่อยู่กับครอบครัว พ่อ แม่ ไม่มีโอกาสเรียนรู้วิธีการเป็นพ่อ แม่ที่ดี และวิธีปฏิบัติตนกับลูกในทางที่ถูกที่ควร พ่อ แม่ จำนวนมากไม่ให้ความสำคัญในการดูแลลูกด้วยตนเอง ปล่อยปละละเลยให้อยู่กับญาติ หรือ ผู้เลี้ยงดู อีกทั้งยังมีพ่อแม่จำนวนมากที่ยังเข้าใจผิดในเรื่องการเลี้ยงลูก เช่น ให้ความรักด้วยวิธีการให้สิ่งของเป็นรางวัล ตีเด็กทุกครั้งที่ทำผิด ซึ่งจะส่งผลให้เด็กมีปัญหาได้ในอนาคต เพื่อให้ความรู้และแนว่ทางในการดูและเด็กปฐมวัยที่ถูกต้องแก่ผู้ปกครองนักเรียน ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงได้ทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และครู/ผู้ดูแลเด็ก ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครองได้เรียนรู้นวัตกรรมระดับปฐมวัยเพื่อช่วยให้เกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครอง และครู/ผู้ดูแลเด็กมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมพัฒนาการที่ถูกต้องเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย 2.ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้นวัตกรรม 3.ผู้ปกครองเกิดความเข้าใจและสามัคคีระหว่างผู้ปกครองด้วยกัน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 2 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เป็นการพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง ครู/ผู้ดูแลเด็ก 2.เป็นการส่งเสริมให้ผู้ปกครองได้เรียนรู้นวัตกรรมระดับปฐมวัย 3.เป็นการสนับสนุนให้ผู้ปกครองได้มีการพบปะและแลกเปลี่ยนประสบการณ์

 

75 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และครู/ผู้ดูแลเด็ก ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครองได้เรียนรู้นวัตกรรมระดับปฐมวัยเพื่อช่วยให้เกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ผู่้ปกครองและครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ทั้ง ด้าน 2.ร้อยละ 70 ผู้ปกครองได้เรียนรู้นวัตกรรมระดับปฐมวัยเพื่อช่วยให้เกิดการใฝ่รูอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา 3.ร้อยละ 80 ผู้ปกครองได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 75
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และครู/ผู้ดูแลเด็ก ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ข้อที่ 2 เพื่อให้ผู้ปกครองได้เรียนรู้นวัตกรรมระดับปฐมวัยเพื่อช่วยให้เกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่องตลอดเวลา ข้อที่ 3 เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L5171-2-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนวลลดาศาลางาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด