โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม ”
ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวเสาวลักษณ์ขุนเอียด
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม
ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5171-2-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5171-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,190.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ขยะอินทรีย์เป็นขยะที่ย่อยสลายได้ง่าย เช่น พืช ผัก ผลไม้ และเศษอาหาร ซึ่งมีสัดส่วนมากกว่า 50 % การกำจัดที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล ก่อให้เกิดกลิ่น แหล่งเพาะพันธ์พาหะนำโรคติดต่อ ส่งผลเสียของระบบสุขภาพ และหากทับถมไว้เป็นเวลานานจะก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวล้อมและสุขภาพของประชาชนตามมา
แนวทางการจัดการขยะอินทรีย์ โดยวิธีใช้ถังหมักปุ๋ยอินทรีย์แบบใช้อากาศ สมารถนำไปใช้กับครัวเรือน โรงเรียน โรงทาน (วัด) และสถานประกอบการที่มีเศษอาหารเหลือทิ้งได้ โดยไม่มีกลิ่น และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบางเหรียงให้ความสำคัญกับการจัดการขยะครัวเรือนมาโดยตลอด โดยมีแนวทางให้เกิดการจัดการขยะต้นทาง เพื่อเป็นการลดปริมารขยะครัวเรือนและชุมชน ดังนั้น เทศบาลจึงมีแนวทางในการสร้างถึงหมักปุ๋ยอินทรีย์แบบใช้อากาศ เพื่อเป็นการช่วยลดปริมารขยะอินทรีย์ และสามารถต่อยอดสู่ภาคเกษตรกรรมต่อไปได้อย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อสร้างถังขยะไม่มีวันเต็ม สำหรับผลิตปุ๋ยอินทรีย์แห้ง เพื่อนำมาใช้ในภาคเกษตรกรรมของชุมชนและครัวเรือนตำบลบางเหรียง ข้อที่ 2 เพื่อให้คนในท้องถิ่นตำบลบางเหรียง ได้มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะ และนำขยะกลับมาใช้ซ้ำก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน ข้อที่ 3 เพื่อนำผลผลิตที่ได้จากโครงการ (ปุ๋ยอินทรีย์แห้ง) ไปสร้างมูลค่าต่อยอดสู่ภาคเกษตรกรรมของครัวเรือนและชุมชน ข้อที่ 4 เพื่อปลูกจิตสำนักและให้ความรู้แก่ประชาชนในตำบลบางเหรียงเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ให้ถูกวิะี ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนและสร้างสุขลักษณะที่ดีในครัวเรือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- สาธิตการประดิษฐืถังขยะไม่มีวันเต็ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีจุดวางถึงขยะไม่มีวันเต็ม ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
2.สร้างถังขยะไม่มีวันเต็ม สำหรับพื้นที่บางเหรียง จำนวน 50 ถัง
3.มีปุ๋ยอินทรีย์แห้งไว้ใช้ในภาคเกษตรกรรมของชุมชนบางเหรียง
4.ครัวเรือนมีการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อสร้างถังขยะไม่มีวันเต็ม สำหรับผลิตปุ๋ยอินทรีย์แห้ง เพื่อนำมาใช้ในภาคเกษตรกรรมของชุมชนและครัวเรือนตำบลบางเหรียง ข้อที่ 2 เพื่อให้คนในท้องถิ่นตำบลบางเหรียง ได้มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะ และนำขยะกลับมาใช้ซ้ำก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน ข้อที่ 3 เพื่อนำผลผลิตที่ได้จากโครงการ (ปุ๋ยอินทรีย์แห้ง) ไปสร้างมูลค่าต่อยอดสู่ภาคเกษตรกรรมของครัวเรือนและชุมชน ข้อที่ 4 เพื่อปลูกจิตสำนักและให้ความรู้แก่ประชาชนในตำบลบางเหรียงเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ให้ถูกวิะี ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนและสร้างสุขลักษณะที่ดีในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : 1.สร้างถึงขยะไม่มีวันเต็ม สำหรับผลิตอินทรีย์แห้งไว้ใช้ในครัวเรือนได้
2.ประชาชนมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ปริมาณขยะในชุมชนลดลง
3.ประชาชนมีปุ๋ยอินทรีย์แห้งใช้ในภาคเกษตรกรรมครัวเรือน
4.ประชาชนมีความรู้และมีสุขลักษณะที่ดีในการจัดการขยะก่อนทิ้ง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อสร้างถังขยะไม่มีวันเต็ม สำหรับผลิตปุ๋ยอินทรีย์แห้ง เพื่อนำมาใช้ในภาคเกษตรกรรมของชุมชนและครัวเรือนตำบลบางเหรียง ข้อที่ 2 เพื่อให้คนในท้องถิ่นตำบลบางเหรียง ได้มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะ และนำขยะกลับมาใช้ซ้ำก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน ข้อที่ 3 เพื่อนำผลผลิตที่ได้จากโครงการ (ปุ๋ยอินทรีย์แห้ง) ไปสร้างมูลค่าต่อยอดสู่ภาคเกษตรกรรมของครัวเรือนและชุมชน ข้อที่ 4 เพื่อปลูกจิตสำนักและให้ความรู้แก่ประชาชนในตำบลบางเหรียงเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ให้ถูกวิะี ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนและสร้างสุขลักษณะที่ดีในครัวเรือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) สาธิตการประดิษฐืถังขยะไม่มีวันเต็ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5171-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวเสาวลักษณ์ขุนเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม ”
ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวเสาวลักษณ์ขุนเอียด
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5171-2-15 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กรกฎาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5171-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กรกฎาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 55,190.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลบางเหรียง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ขยะอินทรีย์เป็นขยะที่ย่อยสลายได้ง่าย เช่น พืช ผัก ผลไม้ และเศษอาหาร ซึ่งมีสัดส่วนมากกว่า 50 % การกำจัดที่ไม่ถูกหลักสุขาภิบาล ก่อให้เกิดกลิ่น แหล่งเพาะพันธ์พาหะนำโรคติดต่อ ส่งผลเสียของระบบสุขภาพ และหากทับถมไว้เป็นเวลานานจะก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวล้อมและสุขภาพของประชาชนตามมา แนวทางการจัดการขยะอินทรีย์ โดยวิธีใช้ถังหมักปุ๋ยอินทรีย์แบบใช้อากาศ สมารถนำไปใช้กับครัวเรือน โรงเรียน โรงทาน (วัด) และสถานประกอบการที่มีเศษอาหารเหลือทิ้งได้ โดยไม่มีกลิ่น และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลบางเหรียงให้ความสำคัญกับการจัดการขยะครัวเรือนมาโดยตลอด โดยมีแนวทางให้เกิดการจัดการขยะต้นทาง เพื่อเป็นการลดปริมารขยะครัวเรือนและชุมชน ดังนั้น เทศบาลจึงมีแนวทางในการสร้างถึงหมักปุ๋ยอินทรีย์แบบใช้อากาศ เพื่อเป็นการช่วยลดปริมารขยะอินทรีย์ และสามารถต่อยอดสู่ภาคเกษตรกรรมต่อไปได้อย่างยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อสร้างถังขยะไม่มีวันเต็ม สำหรับผลิตปุ๋ยอินทรีย์แห้ง เพื่อนำมาใช้ในภาคเกษตรกรรมของชุมชนและครัวเรือนตำบลบางเหรียง ข้อที่ 2 เพื่อให้คนในท้องถิ่นตำบลบางเหรียง ได้มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะ และนำขยะกลับมาใช้ซ้ำก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน ข้อที่ 3 เพื่อนำผลผลิตที่ได้จากโครงการ (ปุ๋ยอินทรีย์แห้ง) ไปสร้างมูลค่าต่อยอดสู่ภาคเกษตรกรรมของครัวเรือนและชุมชน ข้อที่ 4 เพื่อปลูกจิตสำนักและให้ความรู้แก่ประชาชนในตำบลบางเหรียงเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ให้ถูกวิะี ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนและสร้างสุขลักษณะที่ดีในครัวเรือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
- สาธิตการประดิษฐืถังขยะไม่มีวันเต็ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีจุดวางถึงขยะไม่มีวันเต็ม ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย 2.สร้างถังขยะไม่มีวันเต็ม สำหรับพื้นที่บางเหรียง จำนวน 50 ถัง 3.มีปุ๋ยอินทรีย์แห้งไว้ใช้ในภาคเกษตรกรรมของชุมชนบางเหรียง 4.ครัวเรือนมีการจัดการขยะอย่างถูกสุขลักษณะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อสร้างถังขยะไม่มีวันเต็ม สำหรับผลิตปุ๋ยอินทรีย์แห้ง เพื่อนำมาใช้ในภาคเกษตรกรรมของชุมชนและครัวเรือนตำบลบางเหรียง ข้อที่ 2 เพื่อให้คนในท้องถิ่นตำบลบางเหรียง ได้มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะ และนำขยะกลับมาใช้ซ้ำก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน ข้อที่ 3 เพื่อนำผลผลิตที่ได้จากโครงการ (ปุ๋ยอินทรีย์แห้ง) ไปสร้างมูลค่าต่อยอดสู่ภาคเกษตรกรรมของครัวเรือนและชุมชน ข้อที่ 4 เพื่อปลูกจิตสำนักและให้ความรู้แก่ประชาชนในตำบลบางเหรียงเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ให้ถูกวิะี ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนและสร้างสุขลักษณะที่ดีในครัวเรือน ตัวชี้วัด : 1.สร้างถึงขยะไม่มีวันเต็ม สำหรับผลิตอินทรีย์แห้งไว้ใช้ในครัวเรือนได้ 2.ประชาชนมีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ปริมาณขยะในชุมชนลดลง 3.ประชาชนมีปุ๋ยอินทรีย์แห้งใช้ในภาคเกษตรกรรมครัวเรือน 4.ประชาชนมีความรู้และมีสุขลักษณะที่ดีในการจัดการขยะก่อนทิ้ง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อสร้างถังขยะไม่มีวันเต็ม สำหรับผลิตปุ๋ยอินทรีย์แห้ง เพื่อนำมาใช้ในภาคเกษตรกรรมของชุมชนและครัวเรือนตำบลบางเหรียง ข้อที่ 2 เพื่อให้คนในท้องถิ่นตำบลบางเหรียง ได้มีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะ ลดปริมาณขยะ และนำขยะกลับมาใช้ซ้ำก่อให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน ข้อที่ 3 เพื่อนำผลผลิตที่ได้จากโครงการ (ปุ๋ยอินทรีย์แห้ง) ไปสร้างมูลค่าต่อยอดสู่ภาคเกษตรกรรมของครัวเรือนและชุมชน ข้อที่ 4 เพื่อปลูกจิตสำนักและให้ความรู้แก่ประชาชนในตำบลบางเหรียงเกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะอินทรีย์ให้ถูกวิะี ซึ่งเป็นแนวทางหนึ่งในการลดปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนและสร้างสุขลักษณะที่ดีในครัวเรือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) สาธิตการประดิษฐืถังขยะไม่มีวันเต็ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการถังขยะไม่มีวันเต็ม จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5171-2-15
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวเสาวลักษณ์ขุนเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......